โครงการสร้างแรงจูงใจใหม่เพื่อสตรีไทยร่วมใจป้องกันมะเร็งปากมดลูก ปี 2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสร้างแรงจูงใจใหม่เพื่อสตรีไทยร่วมใจป้องกันมะเร็งปากมดลูก ปี 2566 ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออก
หัวหน้าโครงการ
นางตัซนีม ต่วนมหญีย์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก
มิถุนายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการสร้างแรงจูงใจใหม่เพื่อสตรีไทยร่วมใจป้องกันมะเร็งปากมดลูก ปี 2566
ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออก จังหวัด ปทุมธานี
รหัสโครงการ 66-L2480-1-04 เลขที่ข้อตกลง 15/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 มิถุนายน 2566 ถึง 23 มิถุนายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างแรงจูงใจใหม่เพื่อสตรีไทยร่วมใจป้องกันมะเร็งปากมดลูก ปี 2566 จังหวัดปทุมธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออก
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างแรงจูงใจใหม่เพื่อสตรีไทยร่วมใจป้องกันมะเร็งปากมดลูก ปี 2566
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) กลุ่มสตรีอายุ 30-60ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี HPV DNA Test (2) กลุ่มสตรีมีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน (3) กลุ่มสตรีที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อทุกราย (4) เพื่อค้นหาติดตามคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูกและป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูก ระยะแรก สามรถรู้และรักษาได้ทันถ่วงที
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุขดำเนินการสำรวจและจัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงโรคโรคมะเร็งปาก (2) จัดอบรมให้ความรู้การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแบบใหม่ให้กับกลุ่มสตรีอายุ (3) ค้นหาติดตามคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูกและป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูก ระยะแรก สามรถรู้และรักษาได้ทันถ่วงที
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย ทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตของประชาชน และสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมากโรคมะเร็ง เป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในประเทศไทยจากข้อมูลสถิติสาธารณสุขปี พ.ศ.2557 พบว่าอัตราตายจากโรคมะเร็งของประชากรไทยมีแนวโน้มสูงขึ้น และโรคมะเร็ง
ที่พบมากที่สุดในประเทศไทยได้แก่มะเร็งตับ มะเร็งปอด มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมตามลำดับสำหรับสตรีไทย
โรคมะเร็งปากมดลูกมีอุบัติการณ์สูงเป็นอันดับหนึ่งของโรคมะเร็งทุกชนิดนอกจากนี้ยังพบว่าการตรวจวินิจฉัยและให้การรักษาผู้ที่มีความผิดปกติของปากมดลูก ตั้งแต่ระยะก่อนเป็นมะเร็งตามขั้นตอนที่ถูกต้องเหมาะสมสามารถลดอุบัติการณ์ และอัตราการตายของโรคมะเร็งปากมดลูกได้เนื่องจากมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่สามารถตรวจพบได้ตั้งแต่เซลล์เริ่มผิดปกติโดยวิธี HPV DNA Test (Human papillomavirus) ซึ่งการติดเชื้อ HPV เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ เกิดมะเร็งปากมดลูก เชื้อไวรัส HPV มีอยู่มากกว่า 200 สายพันธุ์ ซึ่งมีประมาณ 14 สายพันธุ์ เสี่ยงที่อาจทำให้เกิดโรค และเชื้อไวรัส HPV สายพันธุ์ 16 และ 18 เป็น สาเหตุประมาณร้อยละ 70 ของการเกิด มะเร็งปากมดลูกในผู้หญิงทั่วโลก ประกอบกับการดำเนินโรคเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไปและสามารถรักษาให้หายขาด ดังนั้น การค้นหาผู้ป่วยให้เร็วที่สุด การให้ความรู้การสร้างความตระหนักและการกระตุ้นให้เกิดการดูแลและป้องกันตัวเองในระยะแรกเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพตลอดจนลดอัตราป่วยและตายของสตรีจากโรคมะเร็งปากมดลูก
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออก ได้เล็งเห็นถึง ความสำคัญของการค้นหาผู้ป่วยให้เร็วที่สุด โดยดำเนินการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ 30 – 60 ปี จึงได้จัดทำโครงการ“โครงการสร้างแรงจูงใจใหม่เพื่อสตรีไทยร่วมใจป้องกันมะเร็งปากมดลูก เพื่อให้ครอบคลุมประชากรระดับหนึ่งซึ่งจะช่วยลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก ได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- กลุ่มสตรีอายุ 30-60ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี HPV DNA Test
- กลุ่มสตรีมีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน
- กลุ่มสตรีที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อทุกราย
- เพื่อค้นหาติดตามคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูกและป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูก ระยะแรก สามรถรู้และรักษาได้ทันถ่วงที
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุขดำเนินการสำรวจและจัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงโรคโรคมะเร็งปาก
- จัดอบรมให้ความรู้การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแบบใหม่ให้กับกลุ่มสตรีอายุ
- ค้นหาติดตามคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูกและป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูก ระยะแรก สามรถรู้และรักษาได้ทันถ่วงที
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
55
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มสตรีอายุ30-60ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 80
- กลุ่มสตรีกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองและครอบครัว ชุมชน ร้อยละ 100
- สตรีที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อทุกราย ร้อยละ 100
- เพื่อค้นหาคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูกและป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูก ระยะแรก สามรถรู้และรักษาได้ทันถ่วงที
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดอบรมให้ความรู้การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแบบใหม่ให้กับกลุ่มสตรีอายุ
วันที่ 23 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
๐๘.๓๐ น. - ๑๙.๐๐ น. ลงทะเบียนเข้ารับการอบรม
๐๙.๐๐ น. - ๑๐.๐๐ น. - อบรมการให้ความรู้เรื่องการ คัดกรองมะเร็งปากมดลูกแบบใหม่ให้กับกลุ่มสตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี ด้วยวิธี HPV DNA Test
๑๐.๐๐ น. - ๑๐.๑๕ น. - พักรับประทานอาหารว่าง
๑๐.๑๖ น - ๑๒.๐๐ น. ให้ความรู้สาเหตุการเกิด โรคมะเร็งและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองครอบครัวและ ชุมชน
๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. - พักรับประทานอาหาร กลางวัน
๑๓.๐๐ น. - ๑๔.๓๐ น. - สาธิตวิธีการตรวจคัดกรอง แบบใหม่ด้วยวิธี HPV DNA Test
๑๔.๓๐ น. - ๑๕.๓๐ น. - ประเมินพฤติกรรมสุขภาพ
๑๕.๓๐ น. - ๑๖.๓๐ น. ซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับ ความรู้และร่วมกันแสดงความคิดเห็น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ทำให้กลุ่มสตรีอายุ30-60ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 80
- ทำให้กลุ่มสตรีกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองและครอบครัว ชุมชน ร้อยละ 100
- ทำให้สตรีที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อทุกราย ร้อยละ 100
- เพื่อค้นหาคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูกและป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูก ระยะแรก สามรถรู้และรักษาได้ทันถ่วงที
55
0
2. เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุขดำเนินการสำรวจและจัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงโรคโรคมะเร็งปาก
วันที่ 23 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการสำรวจและจัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงโรคโรคมะเร็งปาก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทำให้รู้กลุ่มเสี่ยงโรคโรคมะเร็งปากให้
0
0
3. ค้นหาติดตามคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูกและป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูก ระยะแรก สามรถรู้และรักษาได้ทันถ่วงที
วันที่ 23 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ค้นหาติดตามคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูกและป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูก ระยะแรก สามรถรู้และรักษาได้ทันถ่วงที
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ติดตามคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูกและป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูก ระยะแรก สามรถรู้และรักษาได้ทันถ่วงที
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
กลุ่มสตรีอายุ 30-60ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี HPV DNA Test
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 กลุ่มสตรีอายุ30-60ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี HPV DNA Test
55.00
55.00
55.00
2
กลุ่มสตรีมีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ๘๐ กลุ่มสตรีที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองครอบครัว และชุมชน
55.00
55.00
55.00
3
กลุ่มสตรีที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อทุกราย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ100 สตรีที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อทุกราย
55.00
55.00
55.00
4
เพื่อค้นหาติดตามคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูกและป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูก ระยะแรก สามรถรู้และรักษาได้ทันถ่วงที
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 มีการค้นหา ติดตามคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูกและป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูก ระยะแรก สามรถรู้และรักษาได้ทันถ่วงที
55.00
55.00
55.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
55
55
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
55
55
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) กลุ่มสตรีอายุ 30-60ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี HPV DNA Test (2) กลุ่มสตรีมีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน (3) กลุ่มสตรีที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อทุกราย (4) เพื่อค้นหาติดตามคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูกและป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูก ระยะแรก สามรถรู้และรักษาได้ทันถ่วงที
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุขดำเนินการสำรวจและจัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงโรคโรคมะเร็งปาก (2) จัดอบรมให้ความรู้การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแบบใหม่ให้กับกลุ่มสตรีอายุ (3) ค้นหาติดตามคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูกและป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูก ระยะแรก สามรถรู้และรักษาได้ทันถ่วงที
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสร้างแรงจูงใจใหม่เพื่อสตรีไทยร่วมใจป้องกันมะเร็งปากมดลูก ปี 2566 จังหวัด ปทุมธานี
รหัสโครงการ 66-L2480-1-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางตัซนีม ต่วนมหญีย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสร้างแรงจูงใจใหม่เพื่อสตรีไทยร่วมใจป้องกันมะเร็งปากมดลูก ปี 2566 ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออก
หัวหน้าโครงการ
นางตัซนีม ต่วนมหญีย์
มิถุนายน 2566
ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออก จังหวัด ปทุมธานี
รหัสโครงการ 66-L2480-1-04 เลขที่ข้อตกลง 15/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 มิถุนายน 2566 ถึง 23 มิถุนายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างแรงจูงใจใหม่เพื่อสตรีไทยร่วมใจป้องกันมะเร็งปากมดลูก ปี 2566 จังหวัดปทุมธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออก
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างแรงจูงใจใหม่เพื่อสตรีไทยร่วมใจป้องกันมะเร็งปากมดลูก ปี 2566
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) กลุ่มสตรีอายุ 30-60ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี HPV DNA Test (2) กลุ่มสตรีมีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน (3) กลุ่มสตรีที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อทุกราย (4) เพื่อค้นหาติดตามคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูกและป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูก ระยะแรก สามรถรู้และรักษาได้ทันถ่วงที
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุขดำเนินการสำรวจและจัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงโรคโรคมะเร็งปาก (2) จัดอบรมให้ความรู้การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแบบใหม่ให้กับกลุ่มสตรีอายุ (3) ค้นหาติดตามคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูกและป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูก ระยะแรก สามรถรู้และรักษาได้ทันถ่วงที
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย ทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตของประชาชน และสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมากโรคมะเร็ง เป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในประเทศไทยจากข้อมูลสถิติสาธารณสุขปี พ.ศ.2557 พบว่าอัตราตายจากโรคมะเร็งของประชากรไทยมีแนวโน้มสูงขึ้น และโรคมะเร็ง ที่พบมากที่สุดในประเทศไทยได้แก่มะเร็งตับ มะเร็งปอด มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมตามลำดับสำหรับสตรีไทย โรคมะเร็งปากมดลูกมีอุบัติการณ์สูงเป็นอันดับหนึ่งของโรคมะเร็งทุกชนิดนอกจากนี้ยังพบว่าการตรวจวินิจฉัยและให้การรักษาผู้ที่มีความผิดปกติของปากมดลูก ตั้งแต่ระยะก่อนเป็นมะเร็งตามขั้นตอนที่ถูกต้องเหมาะสมสามารถลดอุบัติการณ์ และอัตราการตายของโรคมะเร็งปากมดลูกได้เนื่องจากมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่สามารถตรวจพบได้ตั้งแต่เซลล์เริ่มผิดปกติโดยวิธี HPV DNA Test (Human papillomavirus) ซึ่งการติดเชื้อ HPV เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ เกิดมะเร็งปากมดลูก เชื้อไวรัส HPV มีอยู่มากกว่า 200 สายพันธุ์ ซึ่งมีประมาณ 14 สายพันธุ์ เสี่ยงที่อาจทำให้เกิดโรค และเชื้อไวรัส HPV สายพันธุ์ 16 และ 18 เป็น สาเหตุประมาณร้อยละ 70 ของการเกิด มะเร็งปากมดลูกในผู้หญิงทั่วโลก ประกอบกับการดำเนินโรคเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไปและสามารถรักษาให้หายขาด ดังนั้น การค้นหาผู้ป่วยให้เร็วที่สุด การให้ความรู้การสร้างความตระหนักและการกระตุ้นให้เกิดการดูแลและป้องกันตัวเองในระยะแรกเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพตลอดจนลดอัตราป่วยและตายของสตรีจากโรคมะเร็งปากมดลูก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออก ได้เล็งเห็นถึง ความสำคัญของการค้นหาผู้ป่วยให้เร็วที่สุด โดยดำเนินการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ 30 – 60 ปี จึงได้จัดทำโครงการ“โครงการสร้างแรงจูงใจใหม่เพื่อสตรีไทยร่วมใจป้องกันมะเร็งปากมดลูก เพื่อให้ครอบคลุมประชากรระดับหนึ่งซึ่งจะช่วยลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก ได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- กลุ่มสตรีอายุ 30-60ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี HPV DNA Test
- กลุ่มสตรีมีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน
- กลุ่มสตรีที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อทุกราย
- เพื่อค้นหาติดตามคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูกและป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูก ระยะแรก สามรถรู้และรักษาได้ทันถ่วงที
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุขดำเนินการสำรวจและจัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงโรคโรคมะเร็งปาก
- จัดอบรมให้ความรู้การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแบบใหม่ให้กับกลุ่มสตรีอายุ
- ค้นหาติดตามคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูกและป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูก ระยะแรก สามรถรู้และรักษาได้ทันถ่วงที
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 55 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มสตรีอายุ30-60ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 80
- กลุ่มสตรีกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองและครอบครัว ชุมชน ร้อยละ 100
- สตรีที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อทุกราย ร้อยละ 100
- เพื่อค้นหาคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูกและป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูก ระยะแรก สามรถรู้และรักษาได้ทันถ่วงที
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดอบรมให้ความรู้การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแบบใหม่ให้กับกลุ่มสตรีอายุ |
||
วันที่ 23 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ๐๘.๓๐ น. - ๑๙.๐๐ น. ลงทะเบียนเข้ารับการอบรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
55 | 0 |
2. เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุขดำเนินการสำรวจและจัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงโรคโรคมะเร็งปาก |
||
วันที่ 23 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินการสำรวจและจัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงโรคโรคมะเร็งปาก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทำให้รู้กลุ่มเสี่ยงโรคโรคมะเร็งปากให้
|
0 | 0 |
3. ค้นหาติดตามคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูกและป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูก ระยะแรก สามรถรู้และรักษาได้ทันถ่วงที |
||
วันที่ 23 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำค้นหาติดตามคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูกและป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูก ระยะแรก สามรถรู้และรักษาได้ทันถ่วงที ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นติดตามคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูกและป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูก ระยะแรก สามรถรู้และรักษาได้ทันถ่วงที
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | กลุ่มสตรีอายุ 30-60ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี HPV DNA Test ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 กลุ่มสตรีอายุ30-60ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี HPV DNA Test |
55.00 | 55.00 | 55.00 |
|
2 | กลุ่มสตรีมีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน ตัวชี้วัด : ร้อยละ๘๐ กลุ่มสตรีที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองครอบครัว และชุมชน |
55.00 | 55.00 | 55.00 |
|
3 | กลุ่มสตรีที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อทุกราย ตัวชี้วัด : ร้อยละ100 สตรีที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อทุกราย |
55.00 | 55.00 | 55.00 |
|
4 | เพื่อค้นหาติดตามคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูกและป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูก ระยะแรก สามรถรู้และรักษาได้ทันถ่วงที ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 มีการค้นหา ติดตามคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูกและป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูก ระยะแรก สามรถรู้และรักษาได้ทันถ่วงที |
55.00 | 55.00 | 55.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 55 | 55 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 0 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 55 | 55 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) กลุ่มสตรีอายุ 30-60ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี HPV DNA Test (2) กลุ่มสตรีมีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน (3) กลุ่มสตรีที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อทุกราย (4) เพื่อค้นหาติดตามคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูกและป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูก ระยะแรก สามรถรู้และรักษาได้ทันถ่วงที
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุขดำเนินการสำรวจและจัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงโรคโรคมะเร็งปาก (2) จัดอบรมให้ความรู้การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแบบใหม่ให้กับกลุ่มสตรีอายุ (3) ค้นหาติดตามคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูกและป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูก ระยะแรก สามรถรู้และรักษาได้ทันถ่วงที
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสร้างแรงจูงใจใหม่เพื่อสตรีไทยร่วมใจป้องกันมะเร็งปากมดลูก ปี 2566 จังหวัด ปทุมธานี
รหัสโครงการ 66-L2480-1-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางตัซนีม ต่วนมหญีย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......