กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการพัฒนาศักยภาพครูและผู้ดูแลเด็กในการดูแลช่วยเหลือปัญหาสุขภาพจิตเด็กในกลุ่มเด็กวัยเรียน ประจำปี 2566 ”

เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

หัวหน้าโครงการ
นางมัสนี และ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพครูและผู้ดูแลเด็กในการดูแลช่วยเหลือปัญหาสุขภาพจิตเด็กในกลุ่มเด็กวัยเรียน ประจำปี 2566

ที่อยู่ เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก จังหวัด กรุงเทพมหานคร

รหัสโครงการ 66-L6961-1-47 เลขที่ข้อตกลง 91/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพครูและผู้ดูแลเด็กในการดูแลช่วยเหลือปัญหาสุขภาพจิตเด็กในกลุ่มเด็กวัยเรียน ประจำปี 2566 จังหวัดกรุงเทพมหานคร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพครูและผู้ดูแลเด็กในการดูแลช่วยเหลือปัญหาสุขภาพจิตเด็กในกลุ่มเด็กวัยเรียน ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพครูและผู้ดูแลเด็กในการดูแลช่วยเหลือปัญหาสุขภาพจิตเด็กในกลุ่มเด็กวัยเรียน ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก รหัสโครงการ 66-L6961-1-47 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 40 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพจิตและโรคทางจิตเวช อาจส่งผลต่อการเรียนรู้ของเด็ก ทำให้ไอคิวไม่ถูกพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพที่ผ่านมาจากการวัดไอคิวเด็กไทยจะเห็นว่าไม่ดีอย่างที่ควรจะเป็น สาเหตุหนึ่งเป็นเพราะเด็กมีปัญหาสุขภาพจิตและโรคทางจิตเวชโดย 4 โรคหลัก คือ 1. ปัญหาสติปัญญาบกพร่องเป็นกลุ่มเด็กที่มีสติปัญญาต่ำกว่า 70 มักจะรู้ก่อน 6 ขวบพบได้ประมาณ 1% 2. ออทิสติก พบได้ประมาณ 1-2 คนใน 1,000 คน 3. สมาธิสั้น พบได้ประมาณ 5-10% 4. ความบกพร่องในการเรียนรู้หรือแอลดี พบได้ประมาณ 5-10% เช่นกัน เด็กที่มีปัญหาสมาธิสั้นกว่าครึ่ง มักพบร่วมกับแอลดี ดังนั้นจะเห็นว่า 4 โรคนี้แทรกอยู่ในเด็กมากมายในวัยเรียน อายุ 6-12 ปี สำหรับเด็กที่สติปัญญาบกพร่อง และเด็กออทิสติก เป็นโรคที่ปรากฏให้เห็นได้เร็ว ดูออกเร็วตั้งแต่อายุน้อย และได้รับการช่วยเหลือตั้งแต่ต้นทาง แต่ก็ยังมีบางส่วนหลุดรอดการคัดกรองมาได้ เพราะเด็กบางคนอาการไม่เห็นชัด ถ้าอยู่ในระบบการศึกษา ครูอาจจะไม่เข้าใจ ทำให้เด็กถูกดูแลอย่างไม่เหมาะสม แต่ 2 โรคหลังจะเห็นชัดในวัยเรียน คือ เด็กสมาธิสั้นกับแอลดี ซึ่งในบางครั้งเด็กอายุ 3-4 ขวบ ยังไม่แสดงอาการที่ทำให้เห็นเด่นชัด ทำให้วินิจฉัยโรคไม่ได้ ซึ่งต้องเฝ้าระวังพ่อแม่และคุณครู อาจไม่ทราบว่าเด็กมีความผิดปกติ ทำให้เด็กเข้าสู่ระบบการเรียนเหมือนเด็กปกติทั่วไป และเมื่อไปเรียนกับเด็กปกติทั่วไป ตัวโรคที่เด็กเป็น ทำให้เด็กมีความแปลกแยกจากเด็กอื่น ถูกเข้าใจผิดว่าเป็นเด็กดื้อ เด็กซน เด็กไม่สนใจเรียน ไม่ได้เรื่องซึ่งกลุ่มที่เราให้ความสำคัญในเด็กวัยเรียน คือ เด็กสมาธิสั้นและแอลดี แต่ก็ช่วยกรองอีก 2 โรคคือ เด็กสติปัญญาบกพร่องและออทิสติก จากการดำเนินงานที่ผ่านมาถึงปัจจุบันจำนวนนักเรียนที่ส่งมาคัดกรอง ในปี 2563 จำนวนเด็กที่ส่งมาคัดกรอง 26 คน พบมีความเสี่ยง 26 คน ปี 2564 ส่งมาคัดกรอง 88 คน พบมีความเสี่ยง88 คน ปี 2565 ส่งมาคัดกรอง 62 คน พบมีความเสี่ยง62คน ดังนั้นกลุ่มงานจิตเวช โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหานี้ จึงจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพครูและผู้ดูแลเด็กในการดูแลช่วยเหลือปัญหาสุขภาพจิตเด็กในกลุ่มเด็กวัยเรียน เพื่อให้คุณครูและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถส่งต่อเด็กที่มีปัญหาได้อย่างเหมาะสมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ครูและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง 4 กลุ่มโรค
  2. เพื่อให้ครูและผู้ดูแลสามารถคัดกรองหรือประเมินเบื้องต้นได้
  3. เพื่อให้ครูและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงปัญหาและมีแนวทางการส่งต่อช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพครูและผู้ดูแลเด็กในการดูแลช่วยเหลือปัญหาสุขภาพจิตเด็กในกลุ่มเด็กวัยเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ครูและผู้ดูแลเด็กในวัยเรียน 40
เจ้าหน้าที่และผู้จัดโครงการ 10

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ครูและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง 4 กลุ่มโรค
  2. ครูและผู้ดูแลสามารถคัดกรองหรือประเมินเบื้องต้นได้
  3. ครูและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงปัญหาและมีแนวทางการส่งต่อช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพครูและผู้ดูแลเด็กในการดูแลช่วยเหลือปัญหาสุขภาพจิตเด็กในกลุ่มเด็กวัยเรียน

วันที่ 1 กันยายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย
- ครูหรือผู้ดูแลเด็ก 40 คน (โรงเรียนเทศบาล 1-4,โรงเรียนบ้านสุไหงโก-ลก,โรงเรียนรังผึ้ง,โรงเรียนบุณยลาภนฤมิต ,โรงเรียนเกษมทรัพย์)
- คณะทำงาน 10 คน รวม 50 คน
รายละเอียดกิจกรรม ดังนี้
- ประชุมคณะทำงาน
- ประสาน พญ.อรุณศิริ โสตติมานนท์ ตำแหน่งจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น ประจำโรงพยาบาลสุไหงโก-ลกมาเป็นวิทยากรในโครงการ
- อบรมเชิงปฏิบัติการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพครูและผู้ดูแลเด็กในการดูแลช่วยเหลือปัญหาสุขภาพจิตเด็กในกลุ่มเด็กวัยเรียน ระยะเวลาการอบรม 1 วัน
กำหนดการ ดังนี้
08.00 - 08.30 น. ลงทะเบียน/ทำแบบทดสอบก่อนการอบรม
08.30 - 09.00 น. พิธีเปิดโดยนายแพทย์บรรยงเหล่าเจริญสุข ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก
09.00 - 10.30 น.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ 4 กลุ่มโรคของเด็ก
10.30 - 12.00 น.การใช้คู่มือเพื่อช่วยเหลือเด็ก
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 14.00 น. การใช้คู่มือเพื่อช่วยเหลือเด็ก
14.00 - 16.00 น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติการใช้เครื่องมือช่วยเหลือเด็ก
16.00 - 16.30 น. ทำแบบทดสอบหลังการอบรม/สรุปประเด็นปัญหา
หมายเหตุ : พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา 10.30 น.และ 14.30 น.
งบประมาณ ดังนี้
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 บาท X 50 คน x 2 มื้อ = 3,000 บาท
2. ค่าอาหารกลางวัน 60 บาท x 50 คน =3,000 บาท
3. ค่าตอบแทนวิทยากร 600 บาท/ชม. x 6 ชม. = 3,600 บาท
4. ค่าวัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม ได้แก่ กระดาษ สมุด ปากกา เป็นต้น= 3,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับความรู้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ครูและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง 4 กลุ่มโรค
ตัวชี้วัด : ครูและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง 4 กลุ่มโรคมากขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
50.00 80.00

 

2 เพื่อให้ครูและผู้ดูแลสามารถคัดกรองหรือประเมินเบื้องต้นได้
ตัวชี้วัด : ครูและผู้ดูแลสามารถคัดกรองหรือประเมินเบื้องต้นได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
50.00 80.00

 

3 เพื่อให้ครูและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงปัญหาและมีแนวทางการส่งต่อช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ครูและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงปัญหาและมีแนวทางการส่งต่อช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
50.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ครูและผู้ดูแลเด็กในวัยเรียน 40
เจ้าหน้าที่และผู้จัดโครงการ 10

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ครูและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง 4 กลุ่มโรค (2) เพื่อให้ครูและผู้ดูแลสามารถคัดกรองหรือประเมินเบื้องต้นได้ (3) เพื่อให้ครูและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงปัญหาและมีแนวทางการส่งต่อช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพครูและผู้ดูแลเด็กในการดูแลช่วยเหลือปัญหาสุขภาพจิตเด็กในกลุ่มเด็กวัยเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพครูและผู้ดูแลเด็กในการดูแลช่วยเหลือปัญหาสุขภาพจิตเด็กในกลุ่มเด็กวัยเรียน ประจำปี 2566 จังหวัด กรุงเทพมหานคร

รหัสโครงการ 66-L6961-1-47

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมัสนี และ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด