กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน


“ โครงการเด็กตะลุบันวัคซีนครบ ประจำปี 2560 ”

อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนารีสะสาหะ

ชื่อโครงการ โครงการเด็กตะลุบันวัคซีนครบ ประจำปี 2560

ที่อยู่ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-L7010-1-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2560 ถึง 31 กรกฎาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กตะลุบันวัคซีนครบ ประจำปี 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กตะลุบันวัคซีนครบ ประจำปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กตะลุบันวัคซีนครบ ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L7010-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2560 - 31 กรกฎาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็ก เด็กทุกคนในประเทศไทยควรได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบทุกชนิดตามกำหนดของกระทรวงสาธารณสุขซึ่งรวมถึงการได้รับวัคซีนกระตุ้นตามกำหนดที่เหมาะสมสำหรับวัคซีนแต่ละชนิดและต้องดำเนินการให้ครอบคลุมประชากรกลุ่มเป้าหมายมากที่สุดและมีความต่อเนื่องตลอดไปวัคซีนเป็นเครื่องมือสำคัญในการควบคุมป้องกันโรคลดอัตราการเกิดโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศจุดประสงค์ในการฉีดวัคซีนนั้นเพื่อป้องกันโรคติดต่อร้ายแรง โดยเฉพาะกับเด็ก การฉีดวัคซีนนั้นขัดขวางการแพร่ระบาด และลดผลกระทบที่ร้ายแรงของโรคติดต่อ ในบางกรณีอาจจะกำจัดโรคได้หมดโรคในเด็กหลายโรค เช่น หัด และคอตีบ ในปัจจุบันยังมีการระบาดและเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดการเสียชีวิตในเด็กและผู้ใหญ่ในปี 2558 จังหวัดปัตตานีมีเด็กป่วยด้วยโรคคอตีบจำนวน 1 ราย ปี 2559 มีเด็กป่วยด้วยโรคคอตีบจำนวน 1 รายไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต ซึ่งอัตราป่วยจากโรคคอตีบลดลงเนื่องจากมีการรณรงค์ฉีดวัคซีนเมื่อปี 2554 จากสถานการณ์โรคหัดในจังหวัดปัตตานียังมีการเกิดโรคหัดอย่างต่อเนื่อง และมีการระบาดเป็นกลุ่มก้อนประปรายในพื้นที่ที่มีความครอบคลุมของวัคซีนต่ำพบการระบาดที่สูงในกลุ่มเด็ก จากรายงานผู้ป่วยโรคหัดในจังหวัดปัตตานี ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม 2559 ถึงวันที่ 24 มิถุนายน 2559 ได้รับรายงานผู้ป่วยโรคหัดจำนวนทั้งสิ้น 13 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 1.88 ต่อแสนประชากร ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือ 0-4 ปี อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อแสนประชากรสูงสุดคืออำเภอมายออัตราป่วยเท่ากับ 6.87 ต่อแสนประชากร รองลงมาอำเภอทุ่งยางแดงอัตราป่วยเท่ากับ 4.68 ต่อแสนประชากรและอำเภอสายบุรี อัตราป่วยเท่ากับ 3.16 ต่อแสนประชากร
ผลการดำเนินงานของงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในปี 2557 เท่ากับร้อยละ 82.09 ปี 2558 เท่ากับร้อยละ 92.31 ปี 2559 เท่ากับร้อยละ 50.48
ดังนั้นกลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการด้านปฐมภูมิ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสายบุรีจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เด็กอายุ 4-5ปี ได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์
  2. 2.ลดอัตราความรุนแรงของการเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
  3. 3.ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐาน
  4. 4.ผู้ปกครองตะหนักถึงความสำคัญของการได้รับวัคซีน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 245
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.เด็ก 4-5 ปีได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์
    2.จำนวนเด็กป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนมีอัตราลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    จากการดำเนินงานตามกิจกรรมภายใต้โครงการเด็กตะลุบันฉีดวัคซีนครบ สามารถสรุปผลการดำเนินงาน ได้ดังนี้ -ข้อมูลเกี่ยวกับผู้เข้่ร่วมกิจกรรม
    ชาย 49 คน ร้อยละ 20 หญิง 196 คน ร้อยละ 80 -ความพึงพอในในกิจกรรม ด้านกระบวนการ แปลผล มากที่สุด ด้านเจ้าหน้าที่ แปลผล มากที่สุด ด้านคุณภาพ  แปลผล มากที่สุด
    ด้านการอำนวยความสะดวก  แปลผล มากที่สุด -ความสำเร็จของการดำเนินงานเปรียบเทียบของโครงการ เชิงปริมาณ เด็กได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ 90% เชิงคุณภาพ เด็ก 4-5 ปี มีแรงจูงใจในการมารับบริการ สามารถสร้างภูมิคุ้มกันโรค และได้รับชุดที่ระลึกทุกคน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เด็กอายุ 4-5ปี ได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2.ลดอัตราความรุนแรงของการเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3.ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐาน
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4.ผู้ปกครองตะหนักถึงความสำคัญของการได้รับวัคซีน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 245
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 245
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เด็กอายุ 4-5ปี ได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์ (2) 2.ลดอัตราความรุนแรงของการเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน (3) 3.ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐาน (4) 4.ผู้ปกครองตะหนักถึงความสำคัญของการได้รับวัคซีน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเด็กตะลุบันวัคซีนครบ ประจำปี 2560 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-L7010-1-1

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวนารีสะสาหะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด