กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการรู้เท่าทัน ลดปัญหาสุขภาพจิตในชุมชนตำบลมะรือโบออก ปี 2566 ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออก

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรฮายาตี สะมะแอ

ชื่อโครงการ โครงการรู้เท่าทัน ลดปัญหาสุขภาพจิตในชุมชนตำบลมะรือโบออก ปี 2566

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออก จังหวัด ปทุมธานี

รหัสโครงการ 66-L2480-2-09 เลขที่ข้อตกลง 19/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 7 กุมภาพันธ์ 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรู้เท่าทัน ลดปัญหาสุขภาพจิตในชุมชนตำบลมะรือโบออก ปี 2566 จังหวัดปทุมธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออก

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้เท่าทัน ลดปัญหาสุขภาพจิตในชุมชนตำบลมะรือโบออก ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรู้เท่าทัน ลดปัญหาสุขภาพจิตในชุมชนตำบลมะรือโบออก ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออก รหัสโครงการ 66-L2480-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 กุมภาพันธ์ 2566 - 7 กุมภาพันธ์ 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจขององค์การอนามัยโลกพบว่าในประชากร 4 คนจะมีผู้มีปัญหาสุขภาพจิต 1 คน และอีก 2 คนเป็นผู้ได้รับผลกระทบจากปัญหาสุขภาพจิต เช่น เป็นญาติพี่น้อง คนในครอบครัว เป็นต้น สำหรับโรคทางจิตเวชประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคทางจิตทั้งหมดจำนวน 1,152,044 ราย ส่วนใหญ่จะเริ่มป่วยในช่วงปลายวัยรุ่น หรือวัยผู้ใหญ่ อายุระหว่าง 15-35 ปี ซึ่งเป็นช่วงชีวิตของการทำ งานและการสร้างครอบครัว และจากการศึกษาดัชนีวัดความสูญเสียทางสุขภาพ หรือ DALYs พบว่า ในปี พ.ศ. 2562 คนไทยสูญเสียสุขภาวะ (DALYs) ทั้งที่ควรจะมีชีวิตอยู่อย่างสุขภาพดี โดย 10 อันดับแรกสำหรับเพศชายมีโรคซึมเศร้าอยู่ในอันดับที่ 10 และในเพศหญิงโรคซึมเศร้าอยู่อันดับที่ 3 การสำรวจระดับชาติล่าสุดในปี 2561 พบคนไทยร้อยละ 14 หรือ 9 ล้านกว่าคนมีปัญหาสุขภาพจิตและในภาวะวิกฤต จากข้อมูลสถานการณ์ดังกล่าว ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขได้เห็นถึงความสำคัญของปัญหา จึงสำรวจประชนชนที่มารับบริการใน รพ.สต มะรือโบออก พบว่า มีปัญหาสุขภาพจิตที่เพิ่มขึ้น เมื่อเกิดขึ้นแล้วส่งผลกระทบอย่างมากต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน รวมทั้งการประกอบอาชีพของผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตเอง คนใกล้ชิดและครอบครัว หากมีการส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดีและมีแนวทางในการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตก็จะช่วยลดสถานการณ์ปัญหาและผลกระทบเหล่านี้ลงได้ ดังนั้น ทางชมรม อาสาสมัครสาธารณสุข ได้เล็งเห็นถึงปัญหาสุขภาพจิตของคนในชุมชน จึงได้จัดที่โครงการ รู้เท่าทัน ลดปัญหาสุขภาพจิตในชุมชนตำบลมะรือโบออก ปี ๒๕๖๖ เพื่อส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ที่อาจเกิดแก่ประชาชนในชุมชนได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพจิตของตนเอง ครอบครัว และประชาชนในชุมชม
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารรณสุขในการดำเนินงานด้านสุขภาพจิต

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ลงสำรวจในหมู่บ้านเพื่อพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหาสุขภาพจิต
  2. จัดอบรมให้ความรู้ กิจกรรมย่อย
  3. ศึกษาดูงานที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 55
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ตัวแทนอาสาสมัครสาธารณสุข 10

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในชุมชนสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติใช้กับตนเอง
  2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถประเมินสุขภาพจิตได้ด้วยตัวเอง
  3. ชุมชนลดการเกิดปัญหาสุขภาพจิต

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้ กิจกรรมย่อย

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม ๐8.30 น. - ๐9.00 น.- ลงทะเบียนเข้ารับการอบรม ๐9.00 น. - 10.00 น. – อบรมแนวคิดและความจำเป็นในการดูแลสุขภาพจิตของประชาชน (ตามช่วงชีวิตและกลุ่มโรคที่เจ็บป่วย) 10.00 น. - 10.15 น. - พักรับประทานอาหารว่าง 10.16 น - 12.00 น. – วิธีการปฏิบัติในการดูแลสุขภาพจิตของตนเอง ครอบครัว และชุมชน 12.00 น. - 13.00 น. - พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 น. – 14.๓๐ น. – ประเมินความเสี่ยงภัยสุขภาพจิต ความก้าวหน้าของโรคและการจัดการรวมถึงการบันทึกข้อมูล 14.30 น. - 15.30 น. – ประเมินความรู้เกี่ยวกับการจัดการสุขภาพจิตของตนเอง ครอบครัว และชุมชน 15.30 น. - 16.30 น. - ซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความรู้และร่วมกันแสดงความคิดเห็น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ทำให้ประชาชนในชุมชนสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติใช้กับตนเอง
  2. ทำให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถประเมินสุขภาพจิตได้ด้วยตัวเอง
  3. ทำให้ชุมชนลดการเกิดปัญหาสุขภาพจิต

 

55 0

2. ศึกษาดูงานที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ศึกษาดูงานที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้มีก่ารให้ความรู้งานที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

 

0 0

3. ลงสำรวจในหมู่บ้านเพื่อพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหาสุขภาพจิต

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ลงสำรวจในหมู่บ้านเพื่อพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหาสุขภาพจิต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รุ้ผลการสำรวจในหมู่บ้านและพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหาสุขภาพจิต

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพจิตของตนเอง ครอบครัว และประชาชนในชุมชม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพจิตของตนเอง ครอบครัว และประชาชนในชุมชม
300.00 250.00 300.00

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารรณสุขในการดำเนินงานด้านสุขภาพจิต
ตัวชี้วัด : ร้อยละ๘๐ ของอาสาสมัครสาธารณสุขสามารถประเมินปัญหาสุขภาพจิต ของประชาชนในชุมชน
300.00 250.00 300.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 65 65
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 55 55
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
0
ตัวแทนอาสาสมัครสาธารณสุข 10 10

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพจิตของตนเอง ครอบครัว และประชาชนในชุมชม (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารรณสุขในการดำเนินงานด้านสุขภาพจิต

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ลงสำรวจในหมู่บ้านเพื่อพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหาสุขภาพจิต (2) จัดอบรมให้ความรู้ กิจกรรมย่อย (3) ศึกษาดูงานที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรู้เท่าทัน ลดปัญหาสุขภาพจิตในชุมชนตำบลมะรือโบออก ปี 2566 จังหวัด ปทุมธานี

รหัสโครงการ 66-L2480-2-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรฮายาตี สะมะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด