กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการรักษ์สุขภาพและสิ่งแวดล้อม ”

ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอัสฮาร์ อัสมะแอ

ชื่อโครงการ โครงการรักษ์สุขภาพและสิ่งแวดล้อม

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2480-2-07 เลขที่ข้อตกลง 08/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 กรกฎาคม 2566 ถึง 9 กรกฎาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรักษ์สุขภาพและสิ่งแวดล้อม จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรักษ์สุขภาพและสิ่งแวดล้อม



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมและตระหนักในการดูแลรักษาสุขภาพให้ ปลอดจากโรคภัยไข้เจ็บ (2) เพื่อรณรงค์สร้างกระแสปลุกจิตสำนึกในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (3) เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความตระหนักของภัยยาเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการปฐมพยาบาล กิจกรรมที่ 3 เรียนรู้พืชสมุนไพรในชีวิตประจำวัน กิจกรรมที่ 4 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างภูมิคุ้มกันกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังยาเสพติดและอบายมุข กิจกรรมที่ 5 การเรียนรู้เป็นฐานเกี่ยวกับยาเสพติด กิจกรรมที่ 6 ต้นกล้าพันธุ์ใหม่กับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาสุขภาพเป็นสิ่งสำคัญ การเสริมสร้างสุขภาพกับการศึกษา เป็นสิ่งที่จะต้องดำเนินการควบคู่กันไปการพัฒนาเด็กและเยาวชน จึงอยู่ที่กระบวนการจัดการศึกษาและการสร้างสุขภาพ ภายใต้ความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง นับตั้งแต่ระดับครอบครัว โรงเรียน ชุมชนและองค์กรในท้องถิ่น ซึ่งจะต้องมีการประสานความร่วมมือ ประสานประโยชน์ที่เอื้อต่อการพัฒนาเด็กให้มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขและปลอดภัย ซึ่งโรงเรียนก็เป็นสถาบันหนึ่งของสังคมมีหน้าที่ให้ความรู้และพัฒนาคนให้มีสุขภาพและศักยภาพที่ดีสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข นอกจากการให้การศึกษาแล้วการส่งเสริมสุขภาพอนามัยในโรงเรียน เป็นปัจจัยสำคัญในการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนที่จะเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ในวันข้างหน้า การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยแก่นักเรียน การให้บริการด้านสุขภาพอนามัย การให้ความรู้ด้านสุขภาพช่วยให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ปัญหายาเสพติดนั้นถือได้ว่าเป็นปัญหาระดับประเทศอีกปัญหาหนึ่ง การระบาดที่กระจายตัวอย่างรวดเร็วในสังคมไทยเป็นปัญหาที่แก้ไขได้ยากมาก เนื่องจากคนไทยในสมัยปัจจุบันไม่รู้จักการหลีกเลี่ยงเพราะอยากรู้ อยากลองบางคนมีความโลภที่จะหาเงินทางลัด โดยการนำมาขายเพื่อหวังกำไรที่มากมายมหาศาล โดยไม่คำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมที่ควรปฏิบัติต่อประเทศชาติ ผลจากการเห็นแก่ตัวของกลุ่มคนเหล่านี้ ส่งผลต่อเด็กเยาวชนของไทยที่จะมีอนาคตในภายภาคหน้าที่สดใส แต่กลับต้องหลงเชื่อ โดยการอยากรู้อยากลองสารเสพติดเหล่านั้น ถูกการชักจูง การมั่วสุม และการหลอกให้เป็นเครื่องมือในการค้าขายสารเสพติด ถ้าเยาวชนทุกคนตกเป็นทาสของยาเสพติดอนาคตของประเทศคงจะพบกับการสูญเสียอย่างใหญ่หลวงเป็นแน่แท้ ยาเสพติดไม่มีผลดีต่อร่างกายและยังให้โทษอีกมากมายมหาศาล เนื่องจากเยาวชนไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากสังคมอย่างเพียงพอ ครอบครัวควรเป็นแบบอย่างในการให้ความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้องกับเยาวชน เพื่อเป็นการช่วยกันขับเคลื่อนไปในทางที่ถูกที่ควร สิ่งเสพติดนั้นจะเข้าหากลุ่มเยาวชนได้อย่างง่ายมาก เพราะเป็นกลุ่มเสี่ยงที่มีความคึกคะนองพอสมควร ถ้าปล่อยให้สิ่งเสพติดนั้นทำลายเยาวชนซึ่งเป็นอนาคตของชาติ ประเทศไทยคงต้องพบกับ สิ่งเลวร้ายอย่างยิ่ง จากคำกล่าวที่ว่า เยาวชนเป็นอนาคตของชาติ ถ้าไม่ป้องกันและให้ความรู้เกี่ยวกับโทษและการหลีกเลี่ยงจากยาเสพติดแก่เยาวชนอนาคตของชาติคงถูกทำลายด้วยยาเสพติดอย่างแน่นอน ด้วยเหตุนี้โรงเรียนบ้านมะรือโบออก มิตรภาพที่ 199ตระหนักและให้ความสำคัญของการดูแลสุขภาพ และการสร้างภูมิคุ้ม กันยาเสพติดและสิ่งอบายมุขจึงได้จัดทำโครงการรักษ์สุขภาพและสิ่งแวดล้อมขึ้น เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้การดูแลรักษาสุขภาพร่างกายและสิ่งแวดล้อมได้ถูกต้อง รู้จักการปฐมพยาบาลเบื้องต้นในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ นักเรียนได้เรียนรู้การป้องกันโรคและภัยอันตรายใกล้ตัวต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับนักเรียน สร้างความตระหนักในการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีให้แก่นักเรียนในการเผชิญโลกภายนอกนอกจากนี้นักเรียนยังได้เรียนรู้เกี่ยวกับพืชสมุนไพรใกล้ตัวที่สามารถนำมารักษาโรค และสนุกสนานกับการออกกำลังด้วยกีฬาประเภทต่างๆ ที่ส่งเสริมด้านสุขภาพตลอดจนนักเรียนสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมและตระหนักในการดูแลรักษาสุขภาพให้ ปลอดจากโรคภัยไข้เจ็บ
  2. 2. เพื่อรณรงค์สร้างกระแสปลุกจิตสำนึกในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
  3. 3. เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความตระหนักของภัยยาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน
  2. กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการปฐมพยาบาล
  3. กิจกรรมที่ 3 เรียนรู้พืชสมุนไพรในชีวิตประจำวัน
  4. กิจกรรมที่ 4 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างภูมิคุ้มกันกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังยาเสพติดและอบายมุข
  5. กิจกรรมที่ 5 การเรียนรู้เป็นฐานเกี่ยวกับยาเสพติด
  6. กิจกรรมที่ 6 ต้นกล้าพันธุ์ใหม่กับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 220
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนมีสุขภาพดีทุกคน
  2. โรงเรียนปลอดยาเสพติด
  3. บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่มีคุณค่าและปลอดภัย
  4. บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนมีอัตราการเจ็บป่วยที่เกิดจากการแพร่พันธุ์ของโรคลดลง
  5. นักเรียนรู้จักการจัดสิ่งแวดล้อมที่ถูกต้อง มีสุขนิสัยและพฤติกรรมด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ดีตั้งแต่วัยเรียน
  6. นักเรียนมีความมั่นใจในตนเอง กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

วันที่ 8 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กําหนดการ โครงการรักษ์สุขภาพและสิ่งแวดล้อม ประจำปี 2566 วันที่ 8 กรกฎาคม 2566 08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 - 09.30 น. ประธานกล่าวพิธีเปิด โครงการรักษ์สุขภาพและสิ่งแวดล้อม ประจําปี 2566 09.30 - 10.30 น. บรรยายพิเศษ เรื่อง โทษและพิษภัยยาเสพติดพันตำรวจตรีสุทิพย์ นิลวิสุทธิ์ สารวัตร ป้องกันปราบปราม สถานีตำรวจภูธรเจาะไอร้อง 10.30 - 11.00 น. กิจกรรมสันทนาการ 11.00 - 11.20 น. แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 6 กลุ่มๆละเท่าๆกัน 11.20 - 12.00 น. นักเรียนแต่ละกลุ่มเข้าฐานต่างๆ ที่กำหนด 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 13.40 น. นักเรียนแต่ละกลุ่มเข้าฐานต่างๆ ที่กำหนด 13.40 - 14.20 น. นักเรียนแต่ละกลุ่มเข้าฐานต่างๆ ที่กำหนด 14.20 - 14.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.30 - 15.10 น. นักเรียนแต่ละกลุ่มเข้าฐานต่างๆ ที่กำหนด 15.10 - 15.30 น. นักเรียนเดินทางกลับบ้านโดยสวัสดิภาพ


กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม นักเรียนแต่ละกลุ่มต้องหมุนเวียนกันศึกษาในแต่ละฐานที่กำหนด จนครบ 6 ฐาน ดังนี้

กิจกรรมประจำฐานต่างๆ

ฐานที่ 1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน
ฐานที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการปฐมพยาบาล
ฐานที่ 3 เรียนรู้พืชสมุนไพรในชีวิตประจำวัน
ฐานที่ 4 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างภูมิคุ้มกันกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังยาเสพติด และอบายมุข
ฐานที่ 5 การเรียนรู้เป็นฐานเกี่ยวกับยาเสพติด
ฐานที่ 6 ต้นกล้าพันธุ์ใหม่กับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ทำให้บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนมีสุขภาพดีทุกคน
  2. ทำให้โรงเรียนปลอดยาเสพติด
  3. ทำให้บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่มีคุณค่าและปลอดภัย
  4. ทำให้บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนมีอัตราการเจ็บป่วยที่เกิดจากการแพร่พันธุ์ของโรคลดลง
  5. ทำให้นักเรียนรู้จักการจัดสิ่งแวดล้อมที่ถูกต้อง มีสุขนิสัยและพฤติกรรมด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ดีตั้งแต่วัยเรียน
  6. ทำให้นักเรียนมีความมั่นใจในตนเอง กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น

 

220 0

2. กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการปฐมพยาบาล

วันที่ 8 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการปฐมพยาบาล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทำให้เด็กได้เรียนเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการปฐมพยาบาล

 

0 0

3. กิจกรรมที่ 3 เรียนรู้พืชสมุนไพรในชีวิตประจำวัน

วันที่ 8 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

เรียนรู้พืชสมุนไพรในชีวิตประจำวัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทำมห้ได้เรียนรู้พืชสมุนไพรในชีวิตประจำวัน

 

0 0

4. กิจกรรมที่ 4 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างภูมิคุ้มกันกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังยาเสพติดและอบายมุข

วันที่ 8 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างภูมิคุ้มกันกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังยาเสพติดและอบายมุข

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทำให้มีความรู้เกี่ยวกับการสร้างภูมิคุ้มกันกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังยาเสพติดและอบายมุข

 

0 0

5. กิจกรรมที่ 5 การเรียนรู้เป็นฐานเกี่ยวกับยาเสพติด

วันที่ 8 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

การเรียนรู้เป็นฐานเกี่ยวกับยาเสพติด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการเรียนรู้เป็นฐานเกี่ยวกับยาเสพติด

 

0 0

6. กิจกรรมที่ 6 ต้นกล้าพันธุ์ใหม่กับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

วันที่ 8 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ต้นกล้าพันธุ์ใหม่กับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เป็นต้นแบบหรือต้นกล้าพันธุ์ใหม่กับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมและตระหนักในการดูแลรักษาสุขภาพให้ ปลอดจากโรคภัยไข้เจ็บ
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนร้อยละ 80 รักสุขภาพและตระหนักในการดูแลรักษาสุขภาพให้ปลอดจากโรคภัยไข้เจ็บ
220.00 220.00 220.00

 

2 2. เพื่อรณรงค์สร้างกระแสปลุกจิตสำนึกในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัด : 2. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 90 มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับยาเสพติด
220.00 220.00 220.00

 

3 3. เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความตระหนักของภัยยาเสพติด
ตัวชี้วัด : 3. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการทุกคน มีความตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติด มีภูมิคุ้มกัน และไม่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
220.00 220.00 220.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 220 220
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 220 220
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมและตระหนักในการดูแลรักษาสุขภาพให้ ปลอดจากโรคภัยไข้เจ็บ (2) เพื่อรณรงค์สร้างกระแสปลุกจิตสำนึกในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (3) เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความตระหนักของภัยยาเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการปฐมพยาบาล กิจกรรมที่ 3 เรียนรู้พืชสมุนไพรในชีวิตประจำวัน กิจกรรมที่ 4 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างภูมิคุ้มกันกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังยาเสพติดและอบายมุข กิจกรรมที่ 5 การเรียนรู้เป็นฐานเกี่ยวกับยาเสพติด กิจกรรมที่ 6 ต้นกล้าพันธุ์ใหม่กับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรักษ์สุขภาพและสิ่งแวดล้อม จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2480-2-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอัสฮาร์ อัสมะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด