กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โต๊ะเด็ง


“ โครงการผู้ใหญ่ใส่ใจ เด็กๆห่างไกลจอ ”

ตำบลโต๊ะเด็ง อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางโนรีดา บือราเฮง

ชื่อโครงการ โครงการผู้ใหญ่ใส่ใจ เด็กๆห่างไกลจอ

ที่อยู่ ตำบลโต๊ะเด็ง อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2539-01-4 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้ใหญ่ใส่ใจ เด็กๆห่างไกลจอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโต๊ะเด็ง อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โต๊ะเด็ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้ใหญ่ใส่ใจ เด็กๆห่างไกลจอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้ใหญ่ใส่ใจ เด็กๆห่างไกลจอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโต๊ะเด็ง อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2539-01-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,672.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โต๊ะเด็ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Disruption Era) ทำให้การพัฒนาทางเทคโนโลยีเป็นไปอย่างก้าวกระโดด สมาร์ทโฟน(Smartphone)เข้ามามีบทบาทสำคัญกลายเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวันและเปรียบเสมือนปัจจัยที่5 เนื่องจากสมาร์ทโฟนเป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ ผสมผสานการทำงานของคอมพิวเตอร์ซึ่งสามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้กับโทรศัพท์เคลื่อนที่ อีกทั้งมีระบบปฏิบัติการที่รองรับโปรแกรมประยุกต์อื่นๆและแอปพลิเคชัน(Application) ที่สามารถตอบสนองความต้องการฝนการใช้สอยของมนุษย์ได้หลากหลายในทุกที่ทุกเวลา เช่น การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ถ่ายภาพ ค้นหาข้อมูล (สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,2555) นอกจากนั้น บุคคลนิยมติดต่อสื่อสารทางสังคมออนไลน์ผ่านสมาร์ทโฟนเป็นจำนวนมา ก่อให้เกิดวัฒนธรรมก้มหน้า ถ้าบุคคลมีการใช้สมาร์ทโฟนที่มากเกินไปนำไปสู่พฤติกรรมการเสพติดสมาร์ทโฟนขึ้นได้ ย่อมส่งผลต่อภาวะสุขภาพ เช่น 1) ตาแห้ง สายตาเบลอ เนื่องจากแสงจากหน้าจอของสมาร์ทโฟนสามารถทำลายจอประสาทตา(เรตินา) 2) นิ้วล็อค เนื่องจากการใช้นิ้วหนึ่งพิมพ์ข้อความนานเกินไป ทำให้เส้นเอ็นหรือปลอกหุ้มเอ็นที่ใช้ในการงอนิ้วมือตรงบริเวณโคนนิ้วอักเสบ 3)ภาวะเครียด 4) ปวดเมื่อยคอและข้อมือ หมอนรองกระดูกเสื่อมสภาพก่อนวัยอันควร 5) ภาวะซึมเศร้า 6) โรคอ้วน นอนไม่หลับ ในขณะที่องค์การอนามัยโลกได้บรรจุให้สมาร์ทโฟนเป็นหนึ่งในรายชื่อวัตถุที่อาจก่อมะเร็ง โดยเฉพาะผู้ใช้สมาร์ทโฟนเป็นเวลานานอย่างต่อเนื่อง อาจเพิ่มโอกาสให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดเนื้องอกในสมองมากถึงร้อยละ 40 นอกจากนั้นพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนที่มากเกินไป ส่งผลทางลบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน ความสัมพันธ์ในครอบครัวลดลง และเกิดความขัดแย้งกับผู้อื่นเพิ่มมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างความรู้และตระหนักแก่ผู้ปกครองและนักเรียนเกี่ยวกับโทษจากการเสพติดสมาร์ทโฟน
  2. 2. เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงการเกิดโรคที่เกิดจากการเสพติดสมาร์ทโฟน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องพัฒนาการเด็กที่เหมาะสมตามวัย อันตรายจากการจอมือถือ และผลกระทบต่างๆด้านพัฒนาการ อารมณ์ จิต สังคม
  2. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ รุ่นที่ 1
  3. อบรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการเกี่ยวกับพัฒนาการเด็กที่เหมาะสมตามวัย อันตรายจากการเลี้ยงลูกด้วยมือถือ โรคสมาธิสั้นในเด็ก รวมถึงโทษและผลกระทบต่างๆด้านพัฒนาการ อารมณ์ จิต สังคม อันส่งผลเสียต่อสุขภาพในระยะยาว
  4. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ รุ่นที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กตำบลโต๊ะเด็งมีสุขภาพจิตดี 2.ผู้ใหญ่มีแนวคิดในการเลี้ยงดูบุตร


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสร้างความรู้และตระหนักแก่ผู้ปกครองและนักเรียนเกี่ยวกับโทษจากการเสพติดสมาร์ทโฟน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ70 ผู้ปกครองและเด็กมีความรู้เกี่ยวกับโทษและผลเสียที่เกิดจากการเสพติดสมาร์ทโฟน
100.00 70.00

 

2 2. เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงการเกิดโรคที่เกิดจากการเสพติดสมาร์ทโฟน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ70 เด็กไม่เกิดโรคที่เกิดจากการเสพติดสมาร์ทโฟน
100.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างความรู้และตระหนักแก่ผู้ปกครองและนักเรียนเกี่ยวกับโทษจากการเสพติดสมาร์ทโฟน (2) 2. เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงการเกิดโรคที่เกิดจากการเสพติดสมาร์ทโฟน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องพัฒนาการเด็กที่เหมาะสมตามวัย อันตรายจากการจอมือถือ และผลกระทบต่างๆด้านพัฒนาการ อารมณ์ จิต สังคม (2) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ รุ่นที่ 1 (3) อบรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการเกี่ยวกับพัฒนาการเด็กที่เหมาะสมตามวัย อันตรายจากการเลี้ยงลูกด้วยมือถือ โรคสมาธิสั้นในเด็ก รวมถึงโทษและผลกระทบต่างๆด้านพัฒนาการ อารมณ์ จิต สังคม อันส่งผลเสียต่อสุขภาพในระยะยาว (4) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ รุ่นที่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผู้ใหญ่ใส่ใจ เด็กๆห่างไกลจอ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2539-01-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางโนรีดา บือราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด