กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการดูแลส่งเสริม สุขภาพแบบองค์รวม สูงวัยใส่ใจสุขภาพ ปี 2566 ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออก

หัวหน้าโครงการ
นางตัซนีม ต่วนมหญัย์

ชื่อโครงการ โครงการดูแลส่งเสริม สุขภาพแบบองค์รวม สูงวัยใส่ใจสุขภาพ ปี 2566

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออก จังหวัด ปทุมธานี

รหัสโครงการ 66-L2480-1-03 เลขที่ข้อตกลง 14/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มิถุนายน 2566 ถึง 15 มิถุนายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลส่งเสริม สุขภาพแบบองค์รวม สูงวัยใส่ใจสุขภาพ ปี 2566 จังหวัดปทุมธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออก

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลส่งเสริม สุขภาพแบบองค์รวม สูงวัยใส่ใจสุขภาพ ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลส่งเสริม สุขภาพแบบองค์รวม สูงวัยใส่ใจสุขภาพ ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออก รหัสโครงการ 66-L2480-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มิถุนายน 2566 - 15 มิถุนายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุจากปัจจัยการลดลงของอัตราเกิดและ อายุขัยเฉลี่ยของประชากรที่ยืนยาวขึ้นขณะเดียวกันผู้สูงอายุก็มีอายุยืนยาวขึ้นอัตราการเพิ่มของจำนวน ผู้สูงอายุในปัจจุบันสูงกว่าของประชากรโดยรวมขณะเดียวกันอัตราการเพิ่มของจำนวนผู้สูงอายุวัยปลายก็สูงกว่าอัตราการเพิ่มของกลุ่มผู้สูงอายุวัยต้นมีผลให้จำนวนและสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุของไทยเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุวัยปลายปัญหาการเพิ่มของจำนวนผู้สูงอายุคาดว่าจะทวีความรุนแรงขึ้นในอีกสิบปี ข้างหน้าแม้จะ มีอายุเกิน 60 ปีขึ้นไป ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติแต่สภาพจิตใจ ผู้สูงอายุจึง ควรให้ความสนใจดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดีป้องกันการเกิดโรคต่างๆรวมทั้งฟื้นฟู สุขภาพเมื่อมีภาวะของโรคและควบคุมให้ภาวะของโรคเหล่านั้นมีอาการคงที่ไม่กำเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยมากกว่าเดิมจะทำให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าสามารถทำประโยชน์ให้แก่สังคมและ มีความสุขในปั้นปลายของชีวิตประกอบกับรัฐบาลได้มีนโยบายในเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตและ การมีงานหรือกิจกรรมที่เหมาะสมเพื่อสร้างสรรค์และไม่ก่อภาระต่อสังคมในอนาคต ผู้สูงอายุถือว่าเป็นปูชนียบุคคลของสังคมที่มีคุณค่ายิ่งเนื่องจากผ่านประสบการณ์มามากได้โดยเฉพาะการเจ็บป่วยเรื้อรัง เนื่องจากผู้วัยสูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม จึงจำเป็นต้องเตรียมการในการดูแลผู้สูงอายุ ในด้านการส่งเสริมบทบาททางสังคม และการดูแลสุขภาพ ดังนั้นรพสต มะรือโบออก จึงได้จัดทำโครงการ การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมขึ้น เพื่อให้ผ้สูงอายุสามารถดูแลตนเองและพึ่งพาตนเองได้ในการดูแลรักษาสุขภาพอีกทั้งยังเป็นการเพิ่มทางเลือกในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชนได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการ ดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้ง ด้าน โภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพ ร่างกายและจิตใจ
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการ ดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้ง ด้าน โภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพ ร่างกายและจิตใจ คติที่ดีต่อการดูแล สุขภาพให้แข็งแรง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้สุงอายุในคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของหน่วยบริการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย
  2. ประเมินผลพฤติกรรมสุขภาพจากแบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
  3. ติดตามและประเมินพฤติกรรมสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเป้าหมายได้มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองและมีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใน การดูแลสุขภาพอนามัย ทั้งด้าน โภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ มีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลตนเอง
2.กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้สุงอายุในคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของหน่วยบริการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 15 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30 น. - 09.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม
09.00 น. - 10.00 น. ให้ความรู้เรื่อง อาหารและ โภชนาการในผู้สูงอายุ
10.00 น.-10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.30 น.-11.30 น. ให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกายและการดูแลตนเอง
11.30 น.-12.00 น. ซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความรู้และร่วมกันแสดงความคิดเห็น 12.00 น.-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 น.-14.00 น. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยตัวแทน กลุ่มกลุ่มผู้สูงอายุ 14.00 น. -14.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.30 น. - 15.30 น. ประเมินพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ 15.30 น.-16.30 น. ซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความรู้และร่วมกันแสดงความคิดเห็น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ทำให้กลุ่มเป้าหมายได้มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองและมีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใน การดูแลสุขภาพอนามัย ทั้งด้าน โภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ มีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลตนเอง
  2. ทำให้กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

 

50 0

2. ติดตามและประเมินพฤติกรรมสุขภาพ

วันที่ 15 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามและประเมินพฤติกรรมสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทำให้มีการติดตามและประเมินพฤติกรรมสุขภาพ

 

0 0

3. ประเมินผลพฤติกรรมสุขภาพจากแบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

วันที่ 15 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประเมินผลพฤติกรรมสุขภาพจากแบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทำให้ได้รู้ผลการประเมินพฤติกรรมสุขภาพจากแบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการ ดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้ง ด้าน โภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพ ร่างกายและจิตใจ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการ ดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง
50.00 50.00 50.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการ ดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้ง ด้าน โภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพ ร่างกายและจิตใจ คติที่ดีต่อการดูแล สุขภาพให้แข็งแรง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับโรค
50.00 50.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการ ดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้ง ด้าน โภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพ ร่างกายและจิตใจ (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการ ดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้ง ด้าน โภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพ ร่างกายและจิตใจ คติที่ดีต่อการดูแล สุขภาพให้แข็งแรง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้สุงอายุในคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของหน่วยบริการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย (2) ประเมินผลพฤติกรรมสุขภาพจากแบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (3) ติดตามและประเมินพฤติกรรมสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการดูแลส่งเสริม สุขภาพแบบองค์รวม สูงวัยใส่ใจสุขภาพ ปี 2566 จังหวัด ปทุมธานี

รหัสโครงการ 66-L2480-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางตัซนีม ต่วนมหญัย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด