กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียนศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา) ”

ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลมาน๊ะ หะยีหะมะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียนศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา)

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2480-2-05 เลขที่ข้อตกลง 06/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 กันยายน 2566 ถึง 14 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียนศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียนศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา)



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเปรียบเทียบคะแนนความรู้เกี่ยวกับโภชนาการ และภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน (2) เพื่อเปรียบเทียบสารอาหารที่ได้รับในแต่ละวัน และภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน (3) เพื่อเปรียบเทียบการรับรู้ความสามารถของตนเอง และทักษะการเลือกบริโภคอาหารของเด็กวัยเรียน (4) เพื่อประเมินความรู้ และทัศนคติ ครู ผู้บริหารและผู้ปกครองของเด็กวัยเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม บรรยายอบรมให้ความรู้พร้อมสื่อประกอบ เกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารมีความสำคัญในทุกเพศและทุกวัย โดยเฉพาะสำหรับเด็กวัยเรียน ซึ่งเป็นวัยที่ร่างกายกำลังเจริญเติบโต และเป็นช่วงที่สมองกำลังพัฒนา อาหารจึงมีความสำคัญอย่างมากสำหรับวัยนี้ ดังนั้น ควรรับประทานอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่ ซึ่งในแต่ละหมู่ต้องมีความหลากหลายและปริมาณให้เพียงพอ เพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอและเหมาะสม ซึ่งเด็กวัยเรียนเป็นช่วงที่มีการเจริญเติบโตที่รวดเร็ว การได้รับสารอาหารมากเกินไปหรือขาดสารอาหารจะมีผลกระทบต่อเด็กได้ ผลกระทบที่พบประกอบด้วย ด้านสุขภาพร่างกาย ด้านสังคมและจิตใจ ด้านการเรียน และด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยที่มีผลต่อปัญหาทุพโภชนาการในเด็กนักเรียนนั้น พบว่ามี 3 ปัจจัย ได้แก่ ส่วนบุคคล พฤติกรรม และอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม ทั้งปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่บ้านและโรงเรียนที่มีส่วนทำให้เด็กนักเรียนมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ในการนี้ รัฐบาลได้เล็งเห็นความสำคัญ จึงได้มีการดำเนินการอุดหนุนงบประมาณอาหารกลางวันในศูนย์ฯตาดีกา นับว่าเป็นโครงการที่มีความสำคัญในการส่งเสริมให้นักเรียนตาดีกามีการรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ เพื่อแก้ปัญหาและเสริมสร้างปลูกฝังสุขนิสัยที่ดีในการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย และให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ เพื่อให้นักเรียนสามารถพัฒนาสุขภาพของตนเองได้อย่างยั่งยืน และที่สำคัญครูศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา) ผู้บริหาร ประชาชนทั่วไปที่สนใจ และผู้ปกครองของเด็กนักเรียนศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา) จำเป็นต้องมีความรู้เรื่องการรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมของนักเรียนด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเปรียบเทียบคะแนนความรู้เกี่ยวกับโภชนาการ และภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
  2. 2. เพื่อเปรียบเทียบสารอาหารที่ได้รับในแต่ละวัน และภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
  3. 3. เพื่อเปรียบเทียบการรับรู้ความสามารถของตนเอง และทักษะการเลือกบริโภคอาหารของเด็กวัยเรียน
  4. 4. เพื่อประเมินความรู้ และทัศนคติ ครู ผู้บริหารและผู้ปกครองของเด็กวัยเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1 กิจกรรม บรรยายอบรมให้ความรู้พร้อมสื่อประกอบ เกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กนักเรียนในวัยเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้
  2. พัฒนาการด้านสติปัญญาในเด็กเพิ่มมากขึ้น ในเมื่อเด็กได้รับสารอาหารที่เหมาะสมกับช่วงวัยส่งผลให้มีการเรียนรู้ที่เร็วขึ้น และมีประสิทธิภาพในการเรียนรู้มากขึ้น
  3. นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางสารอาหารครบ 5 หมู่ และมีพัฒนาการสมวัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1 กิจกรรม บรรยายอบรมให้ความรู้พร้อมสื่อประกอบ เกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน

วันที่ 13 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) 1. เขียนโครงการเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลมะรือโบออก     2. ประสานการจัดโครงการ / จัดหากลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ     3. ดำเนินโครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กนักเรียน ประกอบไปด้วยกิจกรรม 4 กิจกรรม   1. กินถูกต้องตามหลักโภชนาการ (Foods for health)   2. ภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียน (Choose me please!)   3. อาหารในฝันที่เหมาะสมกับวัยเรียน (My foods)   4. เมนูอาหารกลางวันส่งเสริมโภชนาการ(Good food menu)
          5. ติดตามประเมินภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียน ก่อน – หลัง เข้าร่วมโครงการ           6. สรุปผลโครงการ และรายงานผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ทำให้เด็กนักเรียนในวัยเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้
  2. ทำใก้เด็กนักเรียนมีพัฒนาการด้านสติปัญญาในเด็กเพิ่มมากขึ้น ในเมื่อเด็กได้รับสารอาหารที่เหมาะสมกับช่วงวัยส่งผลให้มีการเรียนรู้ที่เร็วขึ้น และมีประสิทธิภาพในการเรียนรู้มากขึ้น
  3. ทำให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางสารอาหารครบ 5 หมู่ และมีพัฒนาการสมวัย

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อเปรียบเทียบคะแนนความรู้เกี่ยวกับโภชนาการ และภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
ตัวชี้วัด :
800.00 700.00 800.00

 

2 2. เพื่อเปรียบเทียบสารอาหารที่ได้รับในแต่ละวัน และภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
ตัวชี้วัด :
800.00 700.00 800.00

 

3 3. เพื่อเปรียบเทียบการรับรู้ความสามารถของตนเอง และทักษะการเลือกบริโภคอาหารของเด็กวัยเรียน
ตัวชี้วัด :
800.00 700.00 800.00

 

4 4. เพื่อประเมินความรู้ และทัศนคติ ครู ผู้บริหารและผู้ปกครองของเด็กวัยเรียน
ตัวชี้วัด :
800.00 700.00 800.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเปรียบเทียบคะแนนความรู้เกี่ยวกับโภชนาการ และภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน (2) เพื่อเปรียบเทียบสารอาหารที่ได้รับในแต่ละวัน และภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน (3) เพื่อเปรียบเทียบการรับรู้ความสามารถของตนเอง และทักษะการเลือกบริโภคอาหารของเด็กวัยเรียน (4) เพื่อประเมินความรู้ และทัศนคติ ครู ผู้บริหารและผู้ปกครองของเด็กวัยเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม บรรยายอบรมให้ความรู้พร้อมสื่อประกอบ เกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียนศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา) จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2480-2-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลมาน๊ะ หะยีหะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด