กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาแกะ


“ โครงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตาแกะ ”

สำนักงาน องค์การบริหารส่วน ตำบลตาแกะ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางปิยะมาศ วงศ์อำนาจ

ชื่อโครงการ โครงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตาแกะ

ที่อยู่ สำนักงาน องค์การบริหารส่วน ตำบลตาแกะ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3042-4-07 เลขที่ข้อตกลง 66-L3042-4-01

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 สิงหาคม 2565 ถึง 25 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตาแกะ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน สำนักงาน องค์การบริหารส่วน ตำบลตาแกะ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาแกะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตาแกะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตาแกะ " ดำเนินการในพื้นที่ สำนักงาน องค์การบริหารส่วน ตำบลตาแกะ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3042-4-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 สิงหาคม 2565 - 25 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 65,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาแกะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
  3. เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
  4. เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี
  5. เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา
  6. เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
  7. เพื่อเพิ่มศักยภาพของคณะกรรมการกองทุน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตาแกะ ครั้งที่ 1/2566
  2. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตาแกะ ครั้งที่ 2/2566
  3. สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์สำนักงานโครงการบริหารจัดการกองทุน ฯ
  4. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตาแกะ ครั้งที่ 3/2566
  5. อบรมเพิ่มศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตาแกะ
  6. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตาแกะ ครั้งที่ 4/2566
  7. ประชุมอนุกรรมการ LTC
  8. ประชุมอนุกรรมการ LTC ปี 2566
  9. อบรมหลักสูตร “การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) และการบริหารจัดการของอนุกรรมการ LTC/นักบริบาลและการจัดทำแผนการเงิน การจัดทำแผนสุขภาพ กปท. 1-10” รุ่นที่ 3 ระหว่างวันที่ 25-27 สิงหาคม 2566
  10. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตาแกะ ครั้งที่ 2/2566
  11. อบรมเพิ่มศักยภาพคณะอนุกรรมการ LTC กองทุนหลักประกันสุขภาตำบลตาแกะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 2,000
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 19

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหาส่วนตำบลตาแกะ มีการขับเคลื่อนตามวัตถุประสงค์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตาแกะ ครั้งที่ 1/2566

วันที่ 18 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตาแกะ ครั้งที่ 1/2566

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานผลกรดำเนินงานในปีงบประมาณที่ผ่านมา และเสนอคณะกรรมการกองทุนฯ พิจารณาโครงการที่ขอรับการสนับสนุนเงินงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ 2566

 

29 0

2. สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์สำนักงานโครงการบริหารจัดการกองทุน ฯ

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สนับสนุนวัสดุและอุปกรณ์สำนักงาน ในการดำเนินงานของกองทุนฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กองทุนฯได้มีวัสดุอุปกรณ์สำนักงานในการดำเนินงาน เช่น กระกาษ A4 ปากกา เป็นต้น

 

29 0

3. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตาแกะ ครั้งที่ 2/2566

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตาแกะ ครั้งที่ 2/2566

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานผลการดำเนินงานของกองทุนฯ และรายงานผลการพิจารณาโครงการที่รับการอนุมัติให้ดำเนินการในปีงบประมาณ 2566

 

29 0

4. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตาแกะ ครั้งที่ 3/2566

วันที่ 11 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตาแกะ ครั้งที่ 3/2566 ในวันที่ 11/5/2566 2.จัดประชุมคณะอนุกรรมการบริหารจัดการดูแลระยะยาวสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ครั้งที่ 3/2566 ในวันที่ 12/5/2566

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตาแกะ ครั้งที่ 3 /2566 และมีการประชุมคณะอนุกรรมการบริหารจัดการดูแลระยะยาวสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง  กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตาแกะ ครั้งที่ 3/2566 และได้มีการติดตามการรายงานผลการจัดทำโครงการของหน่วยงาน องค์กร ชมรม ที่ได้รับเงินอุดหนุนจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  มีคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตาแกะ มาเข้าประชุม 15 คน ไม่มา 4 คน และมีคณะอนุกรรมการบริหารจัดการดูแลระยะยาวสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง มาเข้าประชุม 8 คน ไม่มา 2 คน  รวมเบิกค่าตอบแทนคณะกรรมการในการประชุมครั้งที่ 3/2566 เป็นเงินทั้งสิ้น 8,400 บาท (แปดพันสี่ร้อยบาทถ้วน)

 

29 0

5. อบรมเพิ่มศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตาแกะ

วันที่ 23 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตามหนังสือที่ อว 0602.24/พิเศษ 26/2566 ลงวันที่ 1 มีนาคม 2566 ด้วยศูนย์วิจัยและพัฒนาการสื่อสารการเมืองและสังคม มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ร่วมกับชมรมพัฒนาชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งประเทศไทย ได้จัดทำโครงการฝึกอบรม เรื่อง “การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น การจัดสวัสดิการสังคมตามภารกิจถ่ายโอนและแนวทางการชี้แจงข้อทักท้วงของ สตง.” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้เตรียมความพร้อมการถ่ายโอนภารกิจตามพระราชบัญญัติ กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) และทราบหลักเกณณ์และวิธีการปฏิบัติงานตามประกาศคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2561 และ(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 และฝึกปฏิบัติการใช้ระบบสารสนเทศการจัดการฐานข้อมูลเบี้ยยังชีพของ อปท. และความเข้าใจในเรื่องในเรื่องระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และที่สำคัญได้รับทราบแนวทางในการตรวจสอบด้านงบประมาณและแนวทางการชี้แจงข้อทักท้วงตามข้อสังเกตของสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน ได้กำหนดจัดทำโครงการฯ ดังกล่าว ในวันที่ 23-25 มิถุนายน 2566  ณ  โรงแรมเดอะ พาโก้ ดีไซน์ ภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต นั้น                 กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต. ตาแกะ อนุมัติให้ นายวันอิดรีส  หะยีเยะ  ตำแหน่ง กรรมการและผู้ช่วยเลานุการกองทุนฯ เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น การจัดสวัสดิการสังคมตามภารกิจถ่ายโอนและแนวทางการชี้แจงข้อทักท้วงของ สตง. ระหว่างวันที่ 23 – 25 มิถุนายน 2566 ณ  โรงแรมเดอะ พาโก้ ดีไซน์ ภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต โดยขออนุมัติเดินทางไปราชการตั้งแต่วันที่  23 - 25  มิถุนายน 2566 สามารถเบิกค่าลงทะเบียนและค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการได้ตามสิทธิ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้ผ่านการฝึกอบรมจะมีความรู้ ทักษะและสมรรถนะที่เหมาะสมกับการดำรง ตําแหน่ง
  2. ผู้ผ่านการฝึกอบรมจะมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบในตำแหน่ง
    และสามารถนําความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  3. ผู้ผ่านการฝึกอบรมมีวิสัยทัศน์ มีทัศนคติที่ดีต่อการทำงานร่วมกบผู้้อื่นและสามารถทำงานในลักษณะทีมได้อย่างเหมาะสม
  4. ผู้ผ่านการฝึกอบรมมีความรู้ที่ทันสมัย สามารถนําเทคโนโลยี สารสนเทศ
    และนวัตกรรมมาปรับใช้กับการทำงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่มีประสิทธิภาพ

 

1 0

6. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตาแกะ ครั้งที่ 4/2566

วันที่ 9 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตาแกะ ครั้งที่ 4/2566 และประชุมคณะอนุกรรมการดูแลผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ครั้งที่ 4/2566

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผลการดำเนินโครงการ ตลอดทั้งปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

 

29 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 %
10.00 10.00

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)
15.00 15.00

 

3 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน)
5.00 5.00

 

4 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี
ตัวชี้วัด : จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)
4.00 5.00

 

5 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา
ตัวชี้วัด : ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในกำหนด เพิ่มขึ้น
90.00 100.00

 

6 เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
3.00 4.00

 

7 เพื่อเพิ่มศักยภาพของคณะกรรมการกองทุน
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ผ่านการฝึกอบรมจะมีความรู้ ทักษะและสมรรถนะที่เหมาะสมกับการดำรง ตําแหน่ง 2. ผู้ผ่านการฝึกอบรมจะมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบในตำแหน่ง และสามารถนําความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ผู้ผ่านการฝึกอบรมมีวิสัยทัศน์ มีทัศนคติที่ดีต่อการทำงานร่วมกับผู้อื่นและสามารถทำงานในลักษณะทีมได้อย่างเหมาะสม 4. ผู้ผ่านการฝึกอบรมมีความรู้ที่ทันสมัย สามารถนําเทคโนโลยี สารสนเทศ และนวัตกรรมมาปรับใช้กับการทำงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ที่มีประสิทธิภาพ
15.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2019
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 2,000
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 19

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน (3) เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล (4) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี (5) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา (6) เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ (7) เพื่อเพิ่มศักยภาพของคณะกรรมการกองทุน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตาแกะ ครั้งที่ 1/2566 (2) ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตาแกะ ครั้งที่ 2/2566 (3) สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์สำนักงานโครงการบริหารจัดการกองทุน ฯ (4) ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตาแกะ ครั้งที่ 3/2566 (5) อบรมเพิ่มศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตาแกะ (6) ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตาแกะ ครั้งที่ 4/2566 (7) ประชุมอนุกรรมการ LTC (8) ประชุมอนุกรรมการ LTC ปี 2566 (9) อบรมหลักสูตร “การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) และการบริหารจัดการของอนุกรรมการ LTC/นักบริบาลและการจัดทำแผนการเงิน การจัดทำแผนสุขภาพ กปท. 1-10” รุ่นที่ 3 ระหว่างวันที่ 25-27 สิงหาคม 2566 (10) ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตาแกะ ครั้งที่ 2/2566 (11) อบรมเพิ่มศักยภาพคณะอนุกรรมการ LTC กองทุนหลักประกันสุขภาตำบลตาแกะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตาแกะ

รหัสโครงการ 66-L3042-4-07 รหัสสัญญา 66-L3042-4-01 ระยะเวลาโครงการ 23 สิงหาคม 2565 - 25 สิงหาคม 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตาแกะ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3042-4-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปิยะมาศ วงศ์อำนาจ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด