โครงการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2566 ”
ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายสาธร อนุมณี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2566
ที่อยู่ ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2566 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,810.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
การดำเนินชีวิตของประชาชนในชีวิติปัจจุบันได้มีการเปลี่ยนแปลง มีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัวนิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงาน ปริโภคอาหารโดยไม่คำนึงถึงคุณค่า
ทางโภชนาการ ขาดการออกกำลังกาย เครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย ด้วยโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำไปสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม
จากการดำเนินงานคัดกรองประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านสวนโหนด ในปีงบประมาณ 256๕ จำนวน ๘๘๗ ราย พบว่ามีภาวะความดันโลหิตจากการคัดกรอง (ไม่รวมผู้ป่วย)พบปกติจำนวน ๖๐๔ รายอยู่ในกลุ่มแฝง/เสี่ยง (SBP = 120-139 mmHg. หรือ DBP = 80-89 mmHg.) จำนวน ๑๗๕ ราย ,มีภาวะความดันโลหิตจากการคัดกรอง (ไม่รวมผู้ป่วย) อยู่ในกลุ่มสูง/สงสัยเป็นโรค (SBP >= 140 mmHg. หรือ DBP >= 90 mmHg.) จำนวน 98 ราย คิดเป็นร้อย68.09 , 19.73 , 11.05 ตามลำดับ, มีภาวะเบาหวานจากการคัดกรอง)พบปกติจำนวน ๖6๐ ราย (ไม่รวมผู้ป่วย) อยู่ในกลุ่มแฝง/เสียง (100 - 125 mg/dl.)จำนวน 362 ราย ,มีภาวะเบาหวานจากการคัดกรอง (ไม่รวมผู้ป่วย) อยู่ในกลุ่มสูง/สงสัยเป็นโรค (>= 126 mg/dl.) จำนวน 19 ราย คิดเป็นร้อยละ63.34 34.741.82ตามลำดับ
ดังนั้น รพ.สต.บ้านสวนโหนด ได้ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการคัดกรองเพื่อควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2566เพื่อให้ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานโดยการตรวจหารน้ำตาลในเลือดโดยการเจาะปลายนิ้วและโรคความดันโลหิตสูงโดยการตรวจวัดความโลหิตโดยเครื่องวัดความดันแบบพกพา ตรงจคัดกรองสุขภาพโดยทั่วๆไปเช่นโรคทางทันตกรรม ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดรอบอก วิเคราะห์ดัชนีมวลกายฯลฯ และให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน ๙๖๔ ราย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ที่ 1 เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงอย่างต่อเนื่อง.
- ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ออกพื้นที่เพื่อคัดกรองกลุ่มเป้าหมายประชาชนอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป จำนวน ๙๖๔ คน
- จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้เหมาะสม พฤติการณ์การกิน การออกกำลังกายแก่กลุ่มเสียงเบาหวานความดันโลหิตสูงจำนวน ๑๖๐ คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้อง
2.กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและไม่เกิดโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและมีสุขภาพดีอัตราการเกิดโรคเรื้อรังลดลง
3.เกิดการประชาสัมพันธ์การมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมไปยังประชาชนกลุ่มอื่นๆ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้เหมาะสม พฤติการณ์การกิน การออกกำลังกายแก่กลุ่มเสียงเบาหวานความดันโลหิตสูงจำนวน ๑๖๐ คน
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ค่าอาหารว่างแก่กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จำนวน 160 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 4000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
- กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและไม่เกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและมีสุขภาพดี อัตราการเกิดโรคเรื้อรังลดลง
- เกิดการประชาสัมพันธ์การมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมไปยังประชาชนกลุ่มอื่น ๆ
0
0
2. ออกพื้นที่เพื่อคัดกรองกลุ่มเป้าหมายประชาชนอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป จำนวน ๙๖๔ คน
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
แถบตรวจเบาหวานพร้อมเข็มเจาะ จำนวน 1.180 ชุด ชุดละ 9.50 บาท เป็นเงิน 11,210 บาท - เครื่องเจาะหาน้ำตาลในเลือด จำนวน 4 เครื่อง เครื่องละ 2,650 บาท เป็นเงิน 10,600 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
- กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและไม่เกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและมีสุขภาพดี อัตราการเกิดโรคเรื้อรังลดลง
- เกิดการประชาสัมพันธ์การมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมไปยังประชาชนกลุ่มอื่น ๆ
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ที่ 1 เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงอย่างต่อเนื่อง.
ตัวชี้วัด : ประชาชนในเขตรับผิดชอบรพ.สต.บ้านสวนโหนดได้รับการคัดกรอง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงร้อยละ 90
964.00
867.00
2
ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายร้อยละ50 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงได้อย่างถูกต้อง
160.00
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ที่ 1 เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงอย่างต่อเนื่อง. (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ออกพื้นที่เพื่อคัดกรองกลุ่มเป้าหมายประชาชนอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป จำนวน ๙๖๔ คน (2) จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้เหมาะสม พฤติการณ์การกิน การออกกำลังกายแก่กลุ่มเสียงเบาหวานความดันโลหิตสูงจำนวน ๑๖๐ คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2566 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสาธร อนุมณี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2566 ”
ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายสาธร อนุมณี
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2566 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,810.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) การดำเนินชีวิตของประชาชนในชีวิติปัจจุบันได้มีการเปลี่ยนแปลง มีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัวนิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงาน ปริโภคอาหารโดยไม่คำนึงถึงคุณค่า ทางโภชนาการ ขาดการออกกำลังกาย เครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย ด้วยโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำไปสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม จากการดำเนินงานคัดกรองประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านสวนโหนด ในปีงบประมาณ 256๕ จำนวน ๘๘๗ ราย พบว่ามีภาวะความดันโลหิตจากการคัดกรอง (ไม่รวมผู้ป่วย)พบปกติจำนวน ๖๐๔ รายอยู่ในกลุ่มแฝง/เสี่ยง (SBP = 120-139 mmHg. หรือ DBP = 80-89 mmHg.) จำนวน ๑๗๕ ราย ,มีภาวะความดันโลหิตจากการคัดกรอง (ไม่รวมผู้ป่วย) อยู่ในกลุ่มสูง/สงสัยเป็นโรค (SBP >= 140 mmHg. หรือ DBP >= 90 mmHg.) จำนวน 98 ราย คิดเป็นร้อย68.09 , 19.73 , 11.05 ตามลำดับ, มีภาวะเบาหวานจากการคัดกรอง)พบปกติจำนวน ๖6๐ ราย (ไม่รวมผู้ป่วย) อยู่ในกลุ่มแฝง/เสียง (100 - 125 mg/dl.)จำนวน 362 ราย ,มีภาวะเบาหวานจากการคัดกรอง (ไม่รวมผู้ป่วย) อยู่ในกลุ่มสูง/สงสัยเป็นโรค (>= 126 mg/dl.) จำนวน 19 ราย คิดเป็นร้อยละ63.34 34.741.82ตามลำดับ ดังนั้น รพ.สต.บ้านสวนโหนด ได้ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการคัดกรองเพื่อควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2566เพื่อให้ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานโดยการตรวจหารน้ำตาลในเลือดโดยการเจาะปลายนิ้วและโรคความดันโลหิตสูงโดยการตรวจวัดความโลหิตโดยเครื่องวัดความดันแบบพกพา ตรงจคัดกรองสุขภาพโดยทั่วๆไปเช่นโรคทางทันตกรรม ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดรอบอก วิเคราะห์ดัชนีมวลกายฯลฯ และให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน ๙๖๔ ราย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ที่ 1 เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงอย่างต่อเนื่อง.
- ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ออกพื้นที่เพื่อคัดกรองกลุ่มเป้าหมายประชาชนอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป จำนวน ๙๖๔ คน
- จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้เหมาะสม พฤติการณ์การกิน การออกกำลังกายแก่กลุ่มเสียงเบาหวานความดันโลหิตสูงจำนวน ๑๖๐ คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,120 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้อง 2.กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและไม่เกิดโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและมีสุขภาพดีอัตราการเกิดโรคเรื้อรังลดลง 3.เกิดการประชาสัมพันธ์การมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมไปยังประชาชนกลุ่มอื่นๆ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้เหมาะสม พฤติการณ์การกิน การออกกำลังกายแก่กลุ่มเสียงเบาหวานความดันโลหิตสูงจำนวน ๑๖๐ คน |
||
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำค่าอาหารว่างแก่กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จำนวน 160 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 4000 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
2. ออกพื้นที่เพื่อคัดกรองกลุ่มเป้าหมายประชาชนอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป จำนวน ๙๖๔ คน |
||
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำแถบตรวจเบาหวานพร้อมเข็มเจาะ จำนวน 1.180 ชุด ชุดละ 9.50 บาท เป็นเงิน 11,210 บาท - เครื่องเจาะหาน้ำตาลในเลือด จำนวน 4 เครื่อง เครื่องละ 2,650 บาท เป็นเงิน 10,600 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ที่ 1 เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงอย่างต่อเนื่อง. ตัวชี้วัด : ประชาชนในเขตรับผิดชอบรพ.สต.บ้านสวนโหนดได้รับการคัดกรอง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงร้อยละ 90 |
964.00 | 867.00 |
|
|
2 | ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายร้อยละ50 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงได้อย่างถูกต้อง |
160.00 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,120 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ที่ 1 เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงอย่างต่อเนื่อง. (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ออกพื้นที่เพื่อคัดกรองกลุ่มเป้าหมายประชาชนอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป จำนวน ๙๖๔ คน (2) จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้เหมาะสม พฤติการณ์การกิน การออกกำลังกายแก่กลุ่มเสียงเบาหวานความดันโลหิตสูงจำนวน ๑๖๐ คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2566 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสาธร อนุมณี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......