กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนัรกีส ยะปา

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L6961-1-07 เลขที่ข้อตกลง 16/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L6961-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 363 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมือ เท้า ปาก (Hand Foot Mouth Disease) เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสกลุ่มเอนเทอไรไวรัส ซึ่งส่วนใหญ่จะพบในเด็กเล็ก โดยโรคนี้เกิดจากการรับประทานอาหารโดยไม่ล้างมือ การดื่มน้ำ ดูดเลียนิ้วมือ อาการโดยทั่วไป จะมีไข้ เจ็บคอ มีตุ่มพองใสขนาด 1-2 มม. บนฐานจะมีตุ่มสีแดงกระจายอยู่ จะขยายกลายเป็นแผลคล้ายแผลร้อนใน โดยส่วนมากพบที่บริเวณในปาก กระพุ้งแก้ม เหงือก เพดานอ่อน ลิ้นไก่ มือ เท้า ก้น อวัยวะเพศ เข่า ข้อศอกของผู้ป่วย มักเป็นอยู่นาน 4-6 วัน หลังเริ่มมีอาการ และอาจมีอาการชักจากไข้สูงร่วมด้วย เนื่องจากเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมักจะอยู่รวมกันในอาคารเป็นส่วนใหญ่ มีการทำกิจกรรมและการเล่นของเล่นร่วมกัน ส่งผลให้เกิดการแพร่กระจายของโรคได้ง่ายขึ้น
สถานการณ์โรคมือ เท้า ปาก ในประเทศไทย อ้างอิงข้อมูลจากกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขพบว่าในปี 2565 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 20 สิงหาคม 2565 พบผู้ป่วย 35,074 ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต พบมากที่สุดในกลุ่มเด็กอายุแรกเกิด - 4 ปี (ร้อยละ 81.85) รองลงมาคืออายุ 5 ปี (ร้อยละ 9.38) และอายุ 6 ปี (ร้อยละ 3.75) ตามลำดับ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคมือ เท้า ปาก ในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ปีพ.ศ.2565 นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2565 พบผู้ป่วยจำนวนทั้งสิ้น 10 ราย ปีพ.ศ.2564 พบผู้ป่วยจำนวนทั้งสิ้น 0 ราย และปีพ.ศ.2563 พบผู้ป่วยจำนวนทั้งสิ้น 39 ราย โดยพบการระบาดเป็นกลุ่มก้อนทั้งในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและในชุมชน ทั้งนี้กระทรวงสาธารณสุขได้แนะนำให้สถานศึกษาปฏิบัติตามมาตรการที่กรมควบคุมโรคกำหนด เพื่อป้องกันการเกิดโรค และการแพร่ระบาดของโรคโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงฤดูฝนของทุกปี (พฤษภาคม - ตุลาคม) และยังเป็นช่วงเปิดภาคเรียน จึงเป็นช่วงเวลาที่พบการแพร่ระบาดของโรคเป็นจำนวนมาก
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขอนามัยเด็กจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ครูผู้ดูแล ผู้ปกครองและเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคมือ เท้า ปาก และลดอัตราการป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ครูผู้ดูแล ผู้ปกครอง และเด็กมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก และร่วมกันป้องกันควบคุมการเกิดโรคมือ เท้า ปากในเด็ก
  2. เพื่อส่งเสริมให้ครูผู้ดูแล ผู้ปกครอง และเด็ก ได้เรียนรู้ขั้นตอน และวิธีการล้างมือที่สะอาด และถูกวิธี
  3. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเสริมทักษะการดูแลตนเองของเด็กเล็กให้ปลอดโรค และกิจกรรม Big Cleaning Day ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  2. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 120
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 363
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ครูผู้ดูแล ผู้ปกครอง และเด็กมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก และร่วมกันป้องกันควบคุมการเกิดโรคมือ เท้า ปากในเด็ก
  2. ครูผู้ดูแล ผู้ปกครอง และเด็ก ได้เรียนรู้ขั้นตอน และวิธีการล้างมือที่สะอาด และถูกวิธี
  3. ลดอัตราการป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเสริมทักษะการดูแลตนเองของเด็กเล็กให้ปลอดโรค และกิจกรรม Big Cleaning Day ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

วันที่ 16 มกราคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย
ตัวแทนเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้ง 4 ศูนย์ ศูนย์ละ 30 คน รวมผู้เข้าร่วมกิจกรรม 120 คน
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมเสริมทักษะการดูแลตนเองของเด็กเล็กให้ปลอดโรค ได้แก่ ทักษะการล้างมือที่ถูกต้อง เป็นต้น โดยจะจัดกิจกรรมเสริมทักษะการดูแลตัวเอง หลังกิจกรรมเคารพธงชาติ
กิจกรรมทำความสะอาดสถานที่ ของเล่น / ของใช้ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรค มือ เท้า ปาก โดยจัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับทำความสะอาดห้องเรียน และอุปกรณ์
เครื่องใช้ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กพร้อมสบู่เหลวล้างมือ
กำหนดการ
08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน
09.01 - 10.00 น. กิจกรรมเสริมทักษะการดูแลตนเองของเด็กเล็กให้ปลอดโรค
10.01 - 12.00 น. กิจกรรม Big Cleaning Day ทำความสะอาดสถานที่ ของเล่น / ของใช้ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครั้งที่ 1
งบประมาณ
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  3,600 บาท
ค่าวัสดุอุปกรณ์  1,000 บาท
น้ำยาทำความสะอาด  6,000 บาท
สบู่เหลวล้างมือ  3,000 บาท
ค่าจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ทำความสะอาด  2,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้และทำความสะอาดสถานที่ให้มีความเรียบร้อย

 

0 0

2. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก

วันที่ 16 มกราคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย
1. ครูผู้ดูแล ผู้ปกครองศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก จำนวน 39 คน
2. ครูผู้ดูแล ผู้ปกครองศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดอัลอามีน จำนวน 149 คน
3. ครูผู้ดูแล ผู้ปกครองศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดโก-ลกเทพวิมล จำนวน 51 คน
4. ครูผู้ดูแล ผู้ปกครองศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดอะห์มาดียะห์ จำนวน 124 คน
รวมทั้งสิ้น 363 คน
รายละเอียดกิจกรรม
ประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้ง 4 ศูนย์ และคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
ประสานวิทยากร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
จัดเตรียมเนื้อหาเอกสารการจัดอบรม และจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม
จัดทำป้ายโครงการและจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเอง การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรค มือ เท้า ปาก แก่ครูผู้ดูแล ผู้ปกครอง และเด็กก่อนวัยเรียนในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
และกิจกรรมเสริมทักษะการดูแลตนเองของเด็กเล็กให้ปลอดโรค ได้แก่ ทักษะการล้างมือที่ถูกต้อง
ดำเนินการจัดอบรม 2 รุ่น ดังนี้
รุ่นที่ 1
ครูผู้ดูแล ผู้ปกครองศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก จำนวน 39 คน
ครูผู้ดูแล ผู้ปกครองศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดอัลอามีน จำนวน 149 คน
รวมทั้งหมด 188 คน
รุ่นที่ 2
ครูผู้ดูแล ผู้ปกครองศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดโก-ลกเทพวิมล จำนวน 51 คน
ครูผู้ดูแล ผู้ปกครองศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดอะห์มาดียะห์ จำนวน 124 คน
รวมทั้งหมด 175 คน
กำหนดการ
08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน
09.01 - 12.00 น. อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลตนเอง การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรค มือ เท้า ปาก
งบประมาณ
ค่าวิทยากรบรรยาย  3,600 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  10,890 บาท
ค่าวัสดุอุปกรณ์  7,260 บาท
ค่าจัดซื้อไวนิล  4,800 บาท
ค่าป้ายโครงการ  1,200 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ครูผู้ดูแล ผู้ปกครอง และเด็กมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก และร่วมกันป้องกันควบคุมการเกิดโรคมือ เท้า ปากในเด็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครูผู้ดูแล ผู้ปกครอง และเด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก
50.00 80.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ครูผู้ดูแล ผู้ปกครอง และเด็ก ได้เรียนรู้ขั้นตอน และวิธีการล้างมือที่สะอาด และถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครูผู้ดูแล ผู้ปกครอง และเด็กได้เรียนรู้วิธีการล้างมือและการป้องกันตนเองจากโรคมือ เท้า ปากที่ถูกต้อง
50.00 80.00

 

3 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 จำนวนผู้ป่วยโรคมือเท้าปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กลดลงจากเดิม
10.00 2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 483
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 120
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 363
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ครูผู้ดูแล ผู้ปกครอง และเด็กมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก และร่วมกันป้องกันควบคุมการเกิดโรคมือ เท้า ปากในเด็ก (2) เพื่อส่งเสริมให้ครูผู้ดูแล ผู้ปกครอง และเด็ก ได้เรียนรู้ขั้นตอน และวิธีการล้างมือที่สะอาด และถูกวิธี (3) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเสริมทักษะการดูแลตนเองของเด็กเล็กให้ปลอดโรค และกิจกรรม Big Cleaning Day ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (2) กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L6961-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนัรกีส ยะปา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด