กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ


“ โครงการนักเรียนสุขภาพดี ด้วยดนตรีบำบัด ”



หัวหน้าโครงการ
นายสุชาติ ขวัญกลับ

ชื่อโครงการ โครงการนักเรียนสุขภาพดี ด้วยดนตรีบำบัด

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L5278-2-17 เลขที่ข้อตกลง 7/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการนักเรียนสุขภาพดี ด้วยดนตรีบำบัด จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการนักเรียนสุขภาพดี ด้วยดนตรีบำบัด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการนักเรียนสุขภาพดี ด้วยดนตรีบำบัด " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L5278-2-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ดนตรี คือลักษณะของเสียงที่ได้รับการจัดเรียบเรียงไว้อย่างมีแบบแผนและโครงสร้างที่ชัดเจน สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ ๓ ด้านใหญ่ๆ คือเพื่อความสุนทรีย์ เพื่อการศึกษา และเพื่อการบำบัดรักษา จากการศึกษาค้นคว้าถึงประวัติที่มาของดนตรีในยุคโบราณ พบว่า ดนตรีมีที่มาจากความหวาดกลัวของมนุษย์ต่อปรากฏการณ์หรือภัยธรรมชาติ และเชื่อว่าเสียงดนตรีซึ่งทำให้มนุษย์รู้สึกผ่อนคลาย เพลิดเพลิน จะทำให้พระเจ้ามีความเมตตากรุณา ช่วยให้ผ่านพ้นภัยพิบัติ และบันดาลให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ของพืชผลธัญญาหาร

ในยุคต่อมา เมื่อเกิดความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ จากการศึกษาวิจัยพบว่าดนตรีมีผลต่อร่างกาย จิตใจ และสมองในหลายๆด้าน ผลของดนตรีที่มีต่อร่างกายสามารถทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของอัตราการหายใจ อัตราการเต้นของชีพจร ความดันโลหิต การตอบสนองของม่านตา ความตึงตัวของกล้ามเนื้อและการไหลเวียนของเลือด ผลของดนตรีต่อจิตใจและสมอง สามารถทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ สติสัมปชัญญะ จินตนาการ การรับรู้สภาพความเป็นจริง และการสื่อสารทางอวัจนะภาษา นอกจากนี้รายงานวิจัยทางการแพทย์หลายชิ้นพบว่า ดนตรีช่วยให้หัวใจแข็งแรง ทำงานได้ดีขึ้น มีการใช้ดนตรีช่วยกระตุ้นพัฒนาการทารกในครรภ์มารดา รวมถึงการใช้ดนตรีลดหรือบรรเทาความเจ็บปวดหลังการผ่าตัด ในด้านความคิด ดนตรีช่วยเสริมสร้างจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ ในด้านอารมณ์ การฟังดนตรีมีแนวโน้มทำให้ผู้ฟังเกิดความรู้สึกคล้อยตาม ดนตรีจึงมีผลต่อโดยตรงต่อปฏิกิริยาทางอารมณ์ แนวดนตรีและจังหวะดนตรีที่แตกต่างกันส่งผลให้ผู้ฟังเกิดความรู้สึกแตกต่างกัน ดนตรีที่มีจังหวะเร็ว ช่วยปลุกเร้าอารมณ์ กระตุ้นให้ผู้ฟังรู้สึกกระตือรือร้น ฮึกเหิม ในขณะที่ดนตรีที่มีจังหวะช้า ช่วยให้รู้สึกสงบ ผ่อนคลาย การได้ฟังดนตรีที่ชอบและมีความรู้สึกร่วมไปกับเสียงดนตรี ย่อมทำให้ผู้ฟังเกิดความสุข ด้านจิตวิทยา มีงานวิจัยหลายการศึกษาพบว่า เสียงดนตรีสามารถรักษาโรคสมาธิสั้น ช่วยปรับเปลี่ยนนิสัยก้าวร้าวของมนุษย์ให้มีความอ่อนโยน เนื่องจากดนตรีมีอิทธิพลต่ออารมณ์ของมนุษย์ดังกล่าว จึงมีการนำดนตรีมาประยุกต์ใช้ในการบำบัดผ่านกิจกรรมทางดนตรีที่มีรูปแบบ หลักเกณฑ์ และระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ที่ชัดเจน เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์ จิตใจ ส่งผลต่อพฤติกรรม ทำให้เกิดการปรับลดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมลงได้ เป้าหมายของการใช้ดนตรีบำบัดจึงมิได้เน้นที่ทักษะทางดนตรี แต่เน้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพัฒนาการทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมของผู้รับการบำบัด

องค์ประกอบต่างๆทางดนตรี สามารถให้ประโยชน์ที่แตกต่างกันไป เช่น จังหวะดนตรี (Rhythm) ช่วยให้ผ่อนคลายปละช่วยเสริมสร้างสมาธิ ระดับเสียง (Pitch) เสียงระดับต่ำจะช่วยให้เกิดความรู้สึกสงบสุข ความดัง (Volume) พบว่าเสียงที่เบานุ่มจะทำให้เกิดความสงบสุข สบายใจ ในขณะที่เสียงดังทำให้เกิดการเกร็ง กระตุกของกล้ามเนื้อได้ ความดังที่เหมาะสมจะช่วยสร้างระเบียบการควบคุมตนเองได้ดี มีความสงบ และเกิดสมาธิ ทำนองเพลง (Melody) ช่วยในการระบายความรู้สึกส่วนลึกของจิตใจ ทำให้เกิดความริเริ่มสร้างสรรค์และลดความวิตกกังวล การประสานเสียง (harmony) ช่วยในการวัดระดับอารมณ์ความรู้สึกได้ โดยดูจากปฏิกิริยาที่แสดงออกมาเมื่อฟังเสียงประสานต่างๆจากบทเพลง ประโยชน์ของดนตรีบำบัดสามารถนำมาใช้ปรับสภาพจิตใจให้อยู่ในสภาวะสมดุล มีความสงบและมีทัศนคติในเชิงบวกมากขึ้น ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดและลดความวิตกกังวล กระตุ้น เสริมสร้าง และพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ความจำ กระตุ้นการรับรู้ เสริมสร้างสมาธิ เสริมสร้างทักษะทางสังคม พัฒนาทักษะการสื่อสารและการใช้ภาษา พัฒนาทักษะการเคลื่อนไหว ลดความตึงตัวของกล้ามเนื้อ ช่วยในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ช่วยเสริมสร้างกระบวนการบำบัด ทั้งในการประเมินความรู้สึก สร้างเสริมอารมณ์เชิงบวก และการควบคุมตนเอง เป็นต้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดภาวะพัฒนาการล่าช้าเด็กเล็ก (0-6 ปี) ลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมวางแผนคณะทำงานร่วมกับครูพิเศษนักเรียน เรียนรวม และครูประจำชั้น
  2. กิจกรรมให้ความรู้และฝึกทักษะในการใช้ดนตรีบำบัดแก่นักเรียนกลุ่มเสี่ยง
  3. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินงานโครงการ
  4. กิจกรรมให้ความรู้และฝึกทักษะในการใช้ดนตรีบำบัดแก่นักเรียนกลุ่มเสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนกลุ่มเสี่่ยง ได้แก่ โรคสมาธิสั้น ภาวะซึ่มเศร้า และนักเรียนที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 2.นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ห่างไกลยาเสพติด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดภาวะพัฒนาการล่าช้าเด็กเล็ก (0-6 ปี) ลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กเล็ก (0-6 ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า
20.00 15.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดภาวะพัฒนาการล่าช้าเด็กเล็ก (0-6 ปี) ลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนคณะทำงานร่วมกับครูพิเศษนักเรียน เรียนรวม และครูประจำชั้น (2) กิจกรรมให้ความรู้และฝึกทักษะในการใช้ดนตรีบำบัดแก่นักเรียนกลุ่มเสี่ยง (3) ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินงานโครงการ (4) กิจกรรมให้ความรู้และฝึกทักษะในการใช้ดนตรีบำบัดแก่นักเรียนกลุ่มเสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการนักเรียนสุขภาพดี ด้วยดนตรีบำบัด จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L5278-2-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุชาติ ขวัญกลับ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด