กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
จัดทำรูปเล่มรายงานโครงการคัดแยกขยะ8 สิงหาคม 2566
8
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กำแพง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดทำรูปเล่มรายงาน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีรูปเล่มรายงาน จำนวน 3 เล่ม

ทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารและขยะมูลฝอย24 กุมภาพันธ์ 2566
24
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กำแพง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ให้ความรู้เกี่ยวการทำน้ำหมักชีวภาพ

2.ครูและนักเรียนร่วมกันทำน้ำหมักชีวภาพ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการทำน้ำหมักชีวภาพ พร้อมกับลงมือปฏิบัติ ครูและนักเรียนร่วมกันทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษผักและเศษอาหารเหลือจากอาหารกลางวัน

รณรงค์ ประชาสัมพันธ์การคัดแยกขยะอย่างถูกถูกวิธีและโรคที่มากับขยะ9 กุมภาพันธ์ 2566
9
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กำแพง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.เดินรณรงค์การคัดแยกขยะและโรคที่มากับขยะ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการเดินรณรงค์การคัดแยกขยะอย่างถูกวิธ๊และโรคที่มากับขยะ สรุปผลการดำเนินกิจกรรมพบว่านักเรียนและชุมชนร้อยละ 80 ได้ร่วมกิจกรรม

ติดตามพฤติกรรมในการคัดเเยกขยะ1 กุมภาพันธ์ 2566
1
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กำแพง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ติดตามพฤติกรรมการคัดเเยกขยะของนักเรียนเเละบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านอุไร เเละบันทึกผลสัปดาห์ละหนึ่งครั้ง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ติดตามพฤติกรรมการคัดแยกขยะของนักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านอุไร และบันทึกผลสัปดาห์ละหนึ่งครั้ง พบว่าปริมาณขยะในโรงเรียนลดลงร้อยละ 30 และมีการจำหน่ายขยะรีไซเคิลที่ได้จากการคัดแยกขยะ กิจกรรมที่ 5 ทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารและขยะมูลฝอย

ผักสวนครัวปลอดสารพิษ26 มกราคม 2566
26
มกราคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กำแพง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ปลูกผักปลอดสารพิษโดยใช้น้ำหมักชีวภาพ
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการปลูกผักปลอดสารพิษโดยใช้น้ำหมักชีภาพ ผลการดำเนินงานร้อยละ 10 ได้เป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้การคัดแยกขยะเเละโรคที่มากับขยะเเก่ผู้ร่วมโครงการ21 มกราคม 2566
21
มกราคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กำแพง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ให้ความรู้แก่นักเรียน ผู้ปกครองเเละบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านอุไรเกี่ยวกับการคัดเเยกขยะที่ถูกวิธีและโรคที่มากับขยะ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เชิญวิทยากรให้ความรู้แก่นักเรียน ผู้ปกครองและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านอุไรเกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี โดยการบรรยาย ดูวีดีโอ และฝึกทดสอบโดยให้นักเรียน ผู้ปกครอง บุคลากรทางการศึกษาทุกคน นำขยะทิ้งลงถังแต่ละประเภทให้ถูก ช่วงบ่ายเชิญวิทยากรให้ความรู้แก่นักเรียน ผู้ปกครองและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านอุไรเกี่ยวกับโรคที่มากับขยะ สรุปผลการดำเนินกิจกรรมพบว่า นักเรียน ครู และผู้ปกครองร้อยละ 98 ผ่านเกณฑ์การประเมินความรู้เรื่องการคัดแยกขยะและโรคที่มากับขยะ

จัดตั้งแกนนำ(อถล)และเก็บข้อมูลขยะในโรงเรียนและชุมชน18 มกราคม 2566
18
มกราคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กำแพง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.คัดเลือกนักเรียนแกนนำ(อถล.)ห้องละ 2 คน
2.ให้นักเรียนแกนนำ(อถล.) เป็นผู้ประสานในห้องเรียนกับครูประจำชั้น
3.จดบันทึกปริมาณขยะในโรงเรียนทุกวัน
4.จดบันทึกขยะในครัวเรือนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 ทุกวัน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการคัดเลือกนักเรียนแกนนำ(อถลฺ)ห้องละ 2 คน จากนั้นให้นักเรียนแกนนำ(อถลฺ)เป็นผู้ประสานในห้องเรียนกับครูประจำชั้นในการเก็บข้อมูล โดยมีการจดบันทึกปริมาณขยะในโรงเรียนทุกวันและหลังจากนั้นจดบันทึกขยะในครัวเรือน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 ทุกวัน สรุปผลการดำเนินกิจกรรมพบว่าแกนนำนักเรียนร้อยละ 100 มีการจดบันทึกปริมาณขยะในโรงเรียนและครัวเรือน