กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการอบรมให้ความรู้แก่แกนนำชุมชนเพื่อคัดกรองสายตาและการได้ยินในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ในชุมชน ประจำปี 2566 ”

เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

หัวหน้าโครงการ
นางอัญชสา พูนเทพ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้แก่แกนนำชุมชนเพื่อคัดกรองสายตาและการได้ยินในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ในชุมชน ประจำปี 2566

ที่อยู่ เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก จังหวัด กรุงเทพมหานคร

รหัสโครงการ 66-L6961-1-40 เลขที่ข้อตกลง 58/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้แก่แกนนำชุมชนเพื่อคัดกรองสายตาและการได้ยินในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ในชุมชน ประจำปี 2566 จังหวัดกรุงเทพมหานคร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้แก่แกนนำชุมชนเพื่อคัดกรองสายตาและการได้ยินในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ในชุมชน ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้แก่แกนนำชุมชนเพื่อคัดกรองสายตาและการได้ยินในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ในชุมชน ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก รหัสโครงการ 66-L6961-1-40 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 100 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์การอนามัยโลกกำหนดไว้ว่า คนตาบอด หมายถึง คนที่มีสายตาในข้างดีเห็นน้อยกว่า 3/60 หรือมีลานสายตาแคบกว่า 10 องศา ด้วยเหตุที่สายตาข้างดีขนาดนี้มักจะช่วยตัวเองไม่ได้ จากคำนิยามนี้ ถ้าคนใดตาบอดหนึ่งข้าง ข้างที่ดีกว่าเห็นปกติหรือดีกว่า 3/60 จึงไม่ใช่คนตาบอด ด้วยนิยามนี้พบว่าในกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว มีเศรษฐกิจดี พบจำนวนคนตาบอดเป็น 0.1-0.4% หรือ 1-4 คนต่อประชากร 1,000 คน และโรคที่ทำให้ตาบอดมักจะเป็นโรคความเสื่อมที่รักษาไม่ได้ โรคทางกรรมพันธุ์ที่ยังรักษาไม่ได้ ตลอดจนโรคที่ไม่ทราบสาเหตุชัดเจน หรือโรคที่รักษาไม่ได้ ส่วนประเทศด้อยหรือกำลังพัฒนา พบคนตาบอดได้ 0.5-1.5% หรือ 5-15 คนในประชากร 1,000 คน และมักเป็นโรคที่รักษาได้ แต่อาจรักษาไม่ทัน หรือจำนวนแพทย์มีไม่เพียงพอที่จะรักษา ได้แก่ โรคต้อกระจก แผลติดเชื้อที่ตาดำ ภาวะขาดวิตามินเอ ตลอดจนพยาธิในตา จำนวนคนตาบอดของประชากรในแต่ละประเทศ อาจบอกถึงความเจริญทางสาธารณสุขทางการแพทย์ของประเทศนั้น สภาวะตาบอดของประเทศไทยในปี 2556 พบว่าประชากรไทยมีความชุกของตาบอด 0.59% และสายตาเลือนลางร้อยละ 1.57 สาเหตุตาบอดและสายตาเลือนลางที่พบมากที่สุดเกิดจากต้อกระจก 56.61% ต้อหิน 10.4% จอตาเสื่อมในผู้สูงอายุ 3.88% ตาดำเป็นฝ้าขาว 1.23% สายตาผิดปกติโดยไม่แก้ไข 14.11% ต้อกระจกยังเป็นสาเหตุตาบอดที่สำคัญในบ้านเรา ด้วยเหตุที่เป็นโรคที่พบได้เกือบทุกคนในผู้สูงอายุ เกิดจากความเสื่อมของแก้วตาตามอายุ คนเรายิ่งมีอายุยืนขึ้นยิ่งจะพบต้อกระจกมากขึ้น จังหวัดนราธิวาส ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองสายตาจำนวน 31,031 ราย คิดเป็น 52.37% จากจำนวน 59,253 คน เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปจำนวน 6,485 ราย ได้รับการคัดกรองสายตาจำนวน 4,019 ราย คิดเป็น 61.97% จากเป้าหมาย 75% ผู้ป่วยตาบอดจากต้อกระจก (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตัด ทำได้ 134 ตา คิดเป็น 53.6% เป้าหมาย 250 ตา ด้วยสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19 ทำให้การเข้าถึงบริการได้ยากและการผ่าตัดทำได้เฉพาะรายเร่งด่วน ส่งผลให้ผลการดำเนินงานไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ กลุ่มงานจักษุ โสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลสุไหงโก-ลกได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดอบรมให้ความรู้แก่แกนนำชุมชน เพื่อเพิ่มการเข้าถึงการคัดกรอง การค้นหาผู้สูงอายุที่มีปัญหาสายตาและการได้ยินที่บกพร่อง เป็นการตอบสนองต่อนโยบายระบบบริการสุขภาพเขตที่ 12 สาขาตา เน้นการจัดระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพในการเข้าถึงบริการ คือการค้นหาผู้ป่วยเชิงรุกเพื่อลดภาวะตาบอดจากต้อกระจก จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้แกนนำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดกรองสายตาในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป และสามารถส่งต่อได้
  2. เพื่อส่งเสริมให้แกนนำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดกรองการได้ยินในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป และสามารถส่งต่อได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการแก่แกนนำชุมชนที่ดูแลผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แกนนำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดกรองสายตาในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป และสามารถส่งต่อได้
  2. แกนนำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดกรองการได้ยินในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป และสามารถส่งต่อได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมเชิงปฏิบัติการแก่แกนนำชุมชนที่ดูแลผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย
แกนนำชุมชนใน 31 ชุมชน จำนวน 100 คน
รายละเอียดกิจกรรม
1. ประชุมคณะกรรมการในการดำเนินงานในกลุ่ม จักษุ โสต ศอ นาสิกเรื่องการจัดทำโครงการ
2. จัดทำโครงการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
3. ประสานงานกับ ศสม.1 และ ศสม.2 เพื่อประสานกลุ่มเป้าหมาย และ ผู้เกี่ยวข้องอื่นๆในการจัดโครงการ
4. จัดประชุมอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายเป็นระยะเวลา 1 วัน
5. สรุปผลการดำเนินโครงการ
6. ประชุมคณะกรรมการ เพื่อสรุปแผนงานดำเนินการ
7. สรุปและประเมินผลการดำเนินโครงการพร้อมทั้งหาแนวทางในการพัฒนาต่อไป
กำหนดการ
08.00 - 08.30 น. ลงทะเบียน
08.31 - 09.00 น. พิธีเปิดโครงการอบรมให้ความรู้แก่แกนนำชุมชน เพื่อคัดกรองสายตา และ การได้ยินในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป โดย นายแพทย์ บรรยง เหล่าเจริญสุข
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก
09.01 - 10.30 น. ให้ความรู้เรื่องโรคทางตา ได้แก่ โรคเบาหวานขึ้นจอประสาทตา โดย นายแพทย์ สรรค์พงศ์ เจียมสวัสดิ์
10.31 - 12.00 น. ให้ความรู้เรื่องโรคทางตา ได้แก่ โรคต้อกระจก ต้อหิน ต้อลม ต้อเนื้อ โดย แพทย์หญิง ชนิกานต์ ปรีชาวุฒิเดช
12.01 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.01 - 15.00 น. ให้ความรู้เรื่องโรคทางหู คอ จมูก ได้แก่ โรคประสาทหูเสื่อมในผู้สูงอายุ โรคไทรอยด์ โดย นายแพทย์ ณัฐพล พึ่งคำ
15.01 - 16.00 น. อบรมให้ความรู้พร้อมสาธิต การคัดกรองสายตา และ การได้ยินผู้สูงอายุ แก่ผู้เข้าอบรม และการส่งต่อ (กรณีผิดปกติ) เพื่อเข้าสู่กระบวนการรักษา
โดย พยาบาล แผนก จักษุโสต ศอ นาสิก (วิทยากรกลุ่ม)
งบประมาณ
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 6,000 บาท
ค่าอาหารกลางวัน 6,000 บาท
ค่าตอบแทนวิทยากร บรรยาย 3,000 บาท
ค่าตอบแทนวิทยากร กลุ่ม 3,000 บาท
ค่าวัสดุอุปกรณ์ 5,000 บาท
งบประมาณ 23,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้แกนนำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดกรองสายตาในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป และสามารถส่งต่อได้
ตัวชี้วัด : แกนนำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดกรองสายตาในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
50.00 80.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้แกนนำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดกรองการได้ยินในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป และสามารถส่งต่อได้
ตัวชี้วัด : แกนนำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดกรองการได้ยินในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
50.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้แกนนำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดกรองสายตาในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป และสามารถส่งต่อได้ (2) เพื่อส่งเสริมให้แกนนำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดกรองการได้ยินในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป และสามารถส่งต่อได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการแก่แกนนำชุมชนที่ดูแลผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมให้ความรู้แก่แกนนำชุมชนเพื่อคัดกรองสายตาและการได้ยินในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ในชุมชน ประจำปี 2566 จังหวัด กรุงเทพมหานคร

รหัสโครงการ 66-L6961-1-40

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอัญชสา พูนเทพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด