กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการส่งเสริมการจัดการตนเองแบบ Home Center ของผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ในศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 ประจำปี 2566

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการส่งเสริมการจัดการตนเองแบบ Home Center ของผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ในศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 ประจำปี 2566 ”

ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาซูรา เบ็ญจุฬามาศ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการจัดการตนเองแบบ Home Center ของผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ในศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L6961-1-13 เลขที่ข้อตกลง 20/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการจัดการตนเองแบบ Home Center ของผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ในศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 ประจำปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการจัดการตนเองแบบ Home Center ของผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ในศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการจัดการตนเองแบบ Home Center ของผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ในศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L6961-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,360.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 30 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่คุกคามสุขภาพของคนทั่วโลกสมาพันธ์โรคเบาหวานนานาชาติคาดว่า ในปี พ.ศ. 2583 จะมีผู้ป่วยโรคเบาหวานทั่วโลกถึง 642 ล้านคน ปัจจุบันประชากรไทยวัยทำงานเจ็บป่วยเป็นโรคเบาหวานถึง 4.8 ล้านคน ของประชากรวัยทำงานทั้งหมด แต่ละวันมีผู้เสียชีวิตจากโรคเบาหวานถึง 200 คน หรือประมาณชั่วโมงละ 8 คน โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ เนื่องจากเป็นโรคที่ส่งผลต่ออวัยวะต่างๆ ของร่างกายที่เป็นต้นเหตุของการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ส่งผลกระทบทางด้านร่างกาย ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง ภาวะหัวใจล้มเหลว โรคไตวาย โรคหลอดเลือดส่วนปลาย และการถูกตัดอวัยวะ เป็นต้น เป็นสาเหตุทำให้เสียชีวิตถึงร้อยละ 65 โรคเบาหวานส่งผลกระทบทางด้านจิตใจ โดยผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานมีโอกาสเกิดภาวะซึมเศร้ามากกว่าคน ปกติ 2 เท่า ปัญหาของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่พบบ่อยที่สุด คือ การบริโภคอาหารไม่ถูกต้อง บริโภคอาหารที่เน้นรสหวาน มัน เค็มเป็นหลัก สาเหตุ คือ ความเคยชิน ต้องประกอบอาชีพนอกบ้าน ไม่มีเวลาในการประกอบอาหารเองจึงหาซื้ออาหารสำเร็จรูป รวมถึงขาดการออกกำลังกาย อีกทั้งการรับประทานยาอย่างไม่ต่อเนื่อง และไม่สามารถปรับพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกหลักได้อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ และมีความเครียดจากโรคที่เป็น ส่งผลให้ผู้ป่วยเบาหวานไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคมีผลกระทบโดยตรงต่อผู้ป่วยและครอบครัว นอกจากนี้ ยังส่งผลกระทบทางด้านสังคม ทำให้สูญเสียความสามารถในการทำงาน รู้สึกว่าตนเองเป็นภาระต่อครอบครัวและสังคม คุณภาพชีวิตแย่ลง เพิ่มค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ส่งผลกระทบต่อ ครอบครัว เศรษฐกิจและสังคม ทำให้เสียชีวิตก่อนวัยอันสมควร เพิ่มภาระของคนในครอบครัวและสร้างภาระแก่สังคม (ชานนท์ เชาว์ดำรงสกุล, 2563) โรงพยาบาลสุไหงโก-ลกมีผู้ป่วยโรคเบาหวานตั้งแต่ปี 2563-2565 จํานวน 2,485 คน 2,660 คน และ 2,621 คน ตามลําดับ ซึ่งมีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปี ในปี 2565 มีผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้สูงถึงร้อยละ 60.51 ในเขตรับผิดชอบของศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 มีผู้ป่วยที่มีโรคเบาหวาน จำนวน 764 ราย โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 1,844 ราย โรคเบาหวานร่วมกับโรคความดันโลหิตสูง 529 และมารับการตรวจรักษาและรับยาที่ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 จำนวน 100 ราย/สัปดาห์ (ในวันคลินิกเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง)
ดังนั้นเพื่อส่งเสริมการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะในการจัดการตนเองแบบ Home Center เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ เกิดประสิทธิผลที่ดี และเกิดความพึงพอใจ ทำให้ลดโอกาสการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ งานการพยาบาลชุมชน ร่วมกับ ศูนย์แพทย์ใกล้ใจใกล้ใจ 2 จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการจัดการตนเองแบบ Home Center ของผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ในศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ เกิดความตระหนักในการดูแลตนเองและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. คัดกรองสุขภาพ
  2. คนโกลก อ่อนหวาน สำราญใจ ใส่ใจสุขภาพ
  3. ติดตามตามติดแบบ Home center

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ เกิดความตระหนักในการดูแลตนเองและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้
  2. ผู้ป่วยเบาหวานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. คัดกรองสุขภาพ

วันที่ 16 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียด
รายละเอียดกิจกรรม
คัดเลือกผู้ป่วยที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ที่มีระดับน้ำตาลสะสมมากกว่า 7.5%
งบประมาณ
ไม่ใช้งบประมาณ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รู้ค่าน้ำตาลในเลือด

 

0 0

2. คนโกลก อ่อนหวาน สำราญใจ ใส่ใจสุขภาพ

วันที่ 16 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียด
กลุ่มเป้าหมาย
ผู้ป่วยเบาหวาน 30 คน คณะทำงาน และ อสม. 20 คน รวม 50 คน
รายละเอียดกิจกรรม
1. เข้าค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการจัดการตนเอง แบบ Home Center
2. Work shop เรียนรู้การจัดการตนเอง แบบ Home Center
ฐานที่ 1 เรียนรู้เรื่องโรคเบาหวาน อาหารและอาการแสดง การป้องกันและภาวะแทรกซ้อน โดย แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว ฐานที่ 2 เรียนรู้เรื่องโภชนบำบัดสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน / การเลือกอาหารที่เหมาะสมกับโรค โดย นักโภชนาการ ฐานที่ 3 เรียนรู้เรื่องการใช้ยาเบาหวาน และ การใช้ยา Insulin ที่ถูกต้อง โดย เภสัชกร
ฐานที่ 4 เรียนรู้การบริหารเท้า และ ดูแลเท้าด้วยตนเอง โดย แพทย์แผนไทย
ฐานที่ 5 การติดตามน้ำตาลในเลือดด้วยตนเอง (SMBG) โดย พยาบาลวิชาชีพ
ฐานที่ 6 การออกกำลังกายที่เหมาะสม โดย ตัวแทนชมรม แอโรบิคสวนสิรินธร
งบประมาณ
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  3,000 บาท
ค่าอาหารกลางวัน  3,000 บาท
ค่าสื่อประชาสัมพันธ์ (ไวนิลโครงการ)  1,200 บาท
ค่าจัดซื้อวัสดุโมเดล อาหารลดหวาน มัน เค็ม  5,000 บาท ค่าจัดซื้อวัสดุโมเดล อาหารแลกเปลี่ยน  8,000 บาท ค่าจัดซื้อวัสดุโมเดล อาหารลดพุง  1,300 บาท
อุปกรณ์ใส่ยา  1,500 บาท
ค่าวัสดุอุปกรณ์  500 บาท
ค่าแถบเจาะน้ำตาลในเลือด  16,260 บาท
ค่าสมนาคุณวิทยากรกลุ่ม  3,600 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

3. ติดตามตามติดแบบ Home center

วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียด
กลุ่มเป้าหมาย
ผู้ป่วยเบาหวาน 30 คน คณะทำงานและอสม. 20 คน รวม 50 คน
รายละเอียดกิจกรรม
การติดตามแบบ Home Center
สุ่มลงติดตามให้กำลังใจผู้ป่วยที่บ้าน และ การจัดการตนเองที่บ้าน
ติดตามระดับน้ำตาลสะสมเมื่อครบ 3 เดือน นัดฟังผลเลือดพร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้สะท้อนผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ พฤติกรรมดี คงไว้ให้ยั่งยืน
กำหนดการ
09.00 - 12.00 น. สุ่มลงติดตามให้กำลังใจผู้ป่วยที่บ้าน และ การจัดการตนเองที่บ้าน
งบประมาณ
ค่าตอบแทนผู้ปฏิบัติงาน  2,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ เกิดความตระหนักในการดูแลตนเองและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรค อาการแสดง การปฏิบัติตัวและการป้องกันภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้น ร้อยละ80
65.00 80.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องได้
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ร้อยละ 80
50.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ เกิดความตระหนักในการดูแลตนเองและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ (2) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองสุขภาพ (2) คนโกลก อ่อนหวาน สำราญใจ ใส่ใจสุขภาพ (3) ติดตามตามติดแบบ Home center

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการจัดการตนเองแบบ Home Center ของผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ในศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 ประจำปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L6961-1-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอาซูรา เบ็ญจุฬามาศ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด