กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการใส่ใจสุขภาพด้วยวิถีชีวิต 3อ.2ส. ประจำปี 2566 ”

ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางจิราวรรณ ศุลกะนุเคราะห์

ชื่อโครงการ โครงการใส่ใจสุขภาพด้วยวิถีชีวิต 3อ.2ส. ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L6961-1-29 เลขที่ข้อตกลง 44/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการใส่ใจสุขภาพด้วยวิถีชีวิต 3อ.2ส. ประจำปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการใส่ใจสุขภาพด้วยวิถีชีวิต 3อ.2ส. ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการใส่ใจสุขภาพด้วยวิถีชีวิต 3อ.2ส. ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L6961-1-29 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 50 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและพัฒนาไปอย่างมากส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชน เช่นการเร่งรีบกับการทำงานบริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการเท่าใดนักและมีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยขาดการออกกำลังกาย และบางครั้งเครียดกับการทำงานทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย ด้วยโรคต่างๆเช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไขมัขมันในเลือดสูง โรคอ้วน สาเหตุจากการเร่งรีบ และมีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกต้องและเหมาะสมตามหลักโภชนาการ และขาดออกกำลังกาย โรคดังกล่าวเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขและเป็นกลุ่มโรคที่เป็นสาเหตุการนำไปสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และมีการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคเหล่านี้เป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เช่นการรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการและมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม จากการตรวจสุขภาพประจำปีเชิงรุกในหน่วยงานราชการภายนอก บริษัท เอกชนและรัฐวิสาหกิจ ที่ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีเชิงรุกทั้งหมด 484 รายในปีงบประมาณ 2565 เป็นกลุ่มเสี่ยง 211 รายกลุ่มป่วย 49 ราย กลุ่มปกติ 224 รายจากคลินิกคนไทยไร้พุง 15 รายกลุ่มเสี่ยง 10ราย กลุ่มเสี่ยง 5 รายยังมีเกี่ยวกับภาวะสุขภาพที่เป็นสาเหตุและปัจจัยเสี่ยงที่จะเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้้อรังจากพฤติกรรมการที่ไม่ถูกต้องในการดูแลและการจัดการสุขภาพตนเอง การตรวจสุขภาพประจำปีเชิงรุกของประชาชนที่มารับบริการซี่งเป็นการคัดกรองภาวะสุขภาพที่สามารถค้นหาของกลุ่มเสี่ยงรายใหม่ และกลุ่มป่วยไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน ผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย ได้เข้าร่วมโครงการ ปรีบเปลี่ยนพฤติกรรม3 อ.2 ส. เพื่อให้ความรู้และจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องในเรื่องการรับประทานอาหาร และการอออกำลังกาย การจัดการอารมณ์ การเลี่ยงการสูบบุหรี่ และการดื่มสุรา ส่งเสริมการดูแลและทักษะในการจัดการสุขภาพตนเองได้ถูกต้องในกลุ่มปกติ ลดกลุ่มเสี่ยงรายใหม่ รวมถึงลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย นำไปสู่การมีสุขภาพที่ดีและยั่งยืน ฝ่ายสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพงานควบคุมโรค และงานคลินิกคนไทยไร้พุง โรงพยาบาลสุไหงโก-ลกได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการใส่ใจสุขภาพด้วย 3อ.2ส.ในผู้รับบริการตรวจสุขภาพประจำปีที่เป็น กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย เจ้าหน้าที่ภายใน /และประชาชนภายนอกและคลินิกคนไทยไร้พุงขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองตามหลัก 3อ.2ส.
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะและจัดการตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมตามหลัก 3อ.2ส.
  3. เพื่อให้ระดับความดันโลหิต น้ำตาลในเลือด ระดับไขมันในเลือด รอบเอว ค่าดัชนีมวลกาย ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยลดลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เปิดโครงการใส่ใจสุขภาพด้วย 3.อ2.ส.
  2. กิจกรรมประชุมติดตามประเมินผลตามเกณฑ์ ใส่ใจสุขภาพด้วยวิถีชีวิต 3อ.2ส.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
คณะทำงาน 10

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายทราบถึงภาวะสุขภาพของตนเองและปัจจัยเสี่ยงที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของตนเองได้
  2. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่อง3อ.2ส. และมีทักษะและการจัดการสุขภาพของตนเองได้
  3. กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางที่ถูกต้องเหมาะสม กลุ่มป่วยลดไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน ลดกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยรายใหม่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชุมติดตามประเมินผลตามเกณฑ์ ใส่ใจสุขภาพด้วยวิถีชีวิต 3อ.2ส.

วันที่ 1 มิถุนายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย 50 คน เจ้าหน้าที่ 10 คน รวม 60 คน
รายละเอียดกิจกรรม ดังนี้
- ติดตามผลการตรวจสุขภาพ 3 เดือนหลังตรวจสุขภาพครั้งแรก
กำหนดการ
วันที่........ ก.ย 2566 เวลา 08.00 - 16.00 น. ณ โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก
เวลา 08.00 - 09.00 น. ลงทะเบียน/คัดกรอง/ Post test
เวลา 09.01 - 10.00 น. บรรยายความเสี่ยงต่างๆกับโรค NCD และแจ้งผลค่าน้ำตาลในเลือด จากการตรวจสุขภาพ
เวลา 10.01 - 12.00 น. บรรยายและสอนการคำนวนพลังงานอาหาร หวาน มัน เค็ม
เวลา 12.01 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
เวลา 13.01 - 16.00 น. บรรยายและสาธิตการจัดการสุขภาพตนเอง การจัดการความเครียด และการออกกำลังกาย ที่เหมาะสมห่างไกลโรค NCD
วลา 16.01 น. ปิดโครงการ
หมายเหตุ เวลา 10.30 น. และเวลา 14.30 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
งบประมาณ มีดังนี้
- ค่าอาหารกลางวัน 60 คน x 60 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 3,600 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 60 คน x 30 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน 3,600 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

2. เปิดโครงการใส่ใจสุขภาพด้วย 3.อ2.ส.

วันที่ 14 มิถุนายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย 50 คน เจ้าหน้าที่ 10 คน รวม 60 คน
รายละเอียดกิจกรรมดังนี้
1. ขั้นเตรียมการ
- วิเคราะห์ปัญหากลุ่มเป้าหมาย
- ประสานหน่วยงานที่เกี่ยงข้อง (งานควบคุมโรค /ประชุมวางแผนกิจกรรม)
- จัดทำโครงการ/ขออนุมัติโครงการ
2. ขั้นดำเนินการ
- กิจกรรมดำเนินการ
- สำรวจข้อมูล คัดกรองกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย
- จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
- ประชุมชี้แจงและประสานงานเพื่อมอบหมายงานกับหน่วยงานต่างๆ
- ประสานวิทยากร
- เขียนโครงการ/เสอโครงการ/อนุมัติโครงการ
- ส่งหนังสือไปยังหน่วยงานราชการต่างๆที่กลุ่มเป้าหมายเป็นกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และหนังสือเวียนในโรงพยาบาลที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นกลุ่มเสี่ยง กลุ่มเป่วยเข้าร่วมโครงการ
- ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
กิจกรรรมที่ 1 (เปิดโครงการ) อบรมรมให้ความรู้เรืีองการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องด้วยหลัก 3อ.2ส.
กำหนดการ ดังนี้
วันที่............ มิ.ย 2566 เวลา 08.00 น. - 16.00 น. ณ โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก
เวลา 08.00 - 08.30 น. ลงทะเบียนคัดกรอง/Pretest
เวลา 08.31 - 09.00 น. เปิดโครงการโดย นางสุชาดา พันธ์นรา นายกเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกเป็นประธาน นายแพทย์เกษมสันต์ วนวนากร นายแพทย์ชำนาญการพิเศษกล่าวรายงาน
เวลา 09.01 - 10.00 น. บรรยายพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมที่มีผลต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอย่างไร (วิทยากรโดยแพทย์อายุรกรรม)
เวลา 10.01 - 11.00 น. บรรยายอาหารตามหลักโภชนาการที่ถูกต้องเหมาะสม ลดหวาน มัน เค็ม (วิทยากรบรรยายโดยนักโภชนากร)
เวลา 11.01 - 12.00 น. แบ่งกลุ่ม Work Shop ฐานอาหารหวาน มัน เค็ม และอ่านฉลากอาหาร รวม 4 ฐาน วิทยากร 4 คน(วิทยากรกลุ่มโดยนักโภชนากร)
เวลา 12.01 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
เวลา 13.01 - 16.00 น. บรรยายการจัดการสุขภาพตนเองที่เหมาะสมรวมถึงการอออกกำลังกายที่เหมาะสมที่ทำให้ห่างไกลโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง(วิทยากรฝ่ายสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ)
เวลา 16.01 น. ปิดโครงการ
หมายเหตุ เวลา 10.30 น. และเวลา 14.30 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
งบประมาณ ดังนี้
- ค่าอาหารกลางวัน60 คน x 60 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 3,600 บาท
- ค่าอาหารว่าและเครื่องดื่ม 60 คน x 30 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน 3,600 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร(บรรยาย) 600 บาท x 2 ชม. เป็นเงิน 1,200 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร(กลุ่ม) 300 บาท x1 ชม. x 4 คน เป็นเงิน 1,200 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์ในกิจกรรมการอบรมเมนูอาหารสุขภาพ เป็นเงิน 3,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองตามหลัก 3อ.2ส.
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตามหลัก 3อ.2ส.ห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังร้อยละ 80
50.00 80.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะและจัดการตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมตามหลัก 3อ.2ส.
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมีทักษะและการจัดการตนเองและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมตามหลัก 3อ.2ส. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
35.00 50.00

 

3 เพื่อให้ระดับความดันโลหิต น้ำตาลในเลือด ระดับไขมันในเลือด รอบเอว ค่าดัชนีมวลกาย ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยลดลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ
ตัวชี้วัด : ระดับความดันโลหิตน้ำตาลในเลือด ระดับไขมันในเลือด รอบเอว ค่า ดัชนีมวลกาย ในกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยลดลงอยู่ในเกณฑ์ปกติร้อยละ 50
35.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
คณะทำงาน 10

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองตามหลัก 3อ.2ส. (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะและจัดการตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมตามหลัก 3อ.2ส. (3) เพื่อให้ระดับความดันโลหิต น้ำตาลในเลือด ระดับไขมันในเลือด รอบเอว ค่าดัชนีมวลกาย ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยลดลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เปิดโครงการใส่ใจสุขภาพด้วย 3.อ2.ส. (2) กิจกรรมประชุมติดตามประเมินผลตามเกณฑ์ ใส่ใจสุขภาพด้วยวิถีชีวิต 3อ.2ส.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการใส่ใจสุขภาพด้วยวิถีชีวิต 3อ.2ส. ประจำปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L6961-1-29

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจิราวรรณ ศุลกะนุเคราะห์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด