กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการคลีนิคยุวชนคนรักสุขภาพชมรม "พี่สอนน้อง เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก" ประจำปี 2566 ”

เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

หัวหน้าโครงการ
นางเนาวรินทร์ จารุพงศา

ชื่อโครงการ โครงการคลีนิคยุวชนคนรักสุขภาพชมรม "พี่สอนน้อง เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก" ประจำปี 2566

ที่อยู่ เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก จังหวัด กรุงเทพมหานคร

รหัสโครงการ 66-L6961-2-07 เลขที่ข้อตกลง 26/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 23 เมษายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคลีนิคยุวชนคนรักสุขภาพชมรม "พี่สอนน้อง เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก" ประจำปี 2566 จังหวัดกรุงเทพมหานคร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคลีนิคยุวชนคนรักสุขภาพชมรม "พี่สอนน้อง เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก" ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคลีนิคยุวชนคนรักสุขภาพชมรม "พี่สอนน้อง เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก" ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก รหัสโครงการ 66-L6961-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 กุมภาพันธ์ 2566 - 23 เมษายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 44,240.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 70 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กและเยาวชนมักจะใช้เวลาท่อง social เป็นเวลาหลายชั่วโมงติดต่อกันในแต่ละวัน ถึงขั้นเสพติด social ในหลากหลายรูปแบบ ทั้งเกมส์ และอื่นๆอีกมากมาย ส่งผลต่อพฤติกรรมก่อให้เกิดพฤติกรรมที่ก้าวร้าว เวลาถูกขัดจังหวะในการท่อง social และ social ก็อาจชักนำเด็กและเยาวชนไปในทางที่ผิดได้ หากไม่รู้จักการใช้ social ไปในทางที่เกิดประโยชน์ ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง ยาเสพติด การพนันออนไลน์ต่างๆ หรือการถูกชักจูงไปในทางที่ผิด ซึ่งผู้ปกครองก็ไม่สามารถเข้าถึงปัญหาที่จะเกิด หรือเกิดขึ้นแล้วได้
ข้อมูลจากคอลัมน์การศึกษาสยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ ฉบับวันที่ 4 เมษายน 2557 พบว่า เยาวชนไทยใช้อินเทอร์เน็ตผ่านคอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มือถือสูงถึง 3.1 ชั่วโมงต่อวัน ครองแชมป์อันดับหนึ่งของเอเชีย โดยเสพติดทั้งอินเทอร์เน็ต และสังคมออนไลน์ เช่น พนันออนไลน์ ติดเว็บลามก และจากการวิจัยเยาวชนที่ติดอินเทอร์เน็ดจะมีขนาดสมองส่วนหน้าเล็ก และมีการเชื่อมโยงของเซลล์ประสาทของสมองส่วนหน้าลดลง ขาดทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น จึงต้องสร้างกิจกรรมให้เด็กๆได้ลดชั่วโมงการใช้คอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มือถือ โดยการใช้กีฬาฟุตบอลเป็นเครื่องมือ เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพที่ดีของเด็ก และเพื่อเป็นการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยของยาเสพติด เพื่อให้เด็กได้รับรู้ถึงปัญหาที่จะตามมาหากเข้าไปยุ่งเกี่ยว ทางชมรมพี่สอนน้องสุไหงโก-ลกจึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพของเด็กและเยาวชนด้วยกีฬาฟุตบอล
  2. เพื่อให้เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องโทษของยาเสพติดและการปฏิเสธที่ถูกต้อง
  3. เพื่อลดระยะเวลาการเล่น social ของเด็กและเยาวชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยกีฬาฟุตบอล
  2. อบรมให้ความรู้เรื่องโทษของยาเสพติดและการใช้ social อย่างสร้างสรรค์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและเยาวชนมีการส่งเสริมสุขภาพด้วยกีฬาฟุตบอล มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงมากขึ้น
  2. เด็กและยาวชนมีความรู้เรื่องโทษของยาเสพติดและการปฏิเสธที่ถูกต้อง
  3. เด็กและยาวชนลดระยะเวลาการเล่น social ลงและมีการใช้social อย่างสร้างสรรค์มากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยกีฬาฟุตบอล

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย เด็กและเยาวชน 70 คน
รายละเอียดกิจกรรม ดังนี้
- ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้ออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพด้วยกีฬาฟุตบอล และลดชั่วโมงการใช้ social ของเด็ก มีการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ และช่วยให้ห่างไกลยาเสพติดโดยการเล่นกีฬาฟุตบอลทุกวันเสาร์ และวันอาทิตย์ วันละ 2-3 ชั่วโมง/วัน ณ สนามหญ้าเทียมหน้าโรงเรียนสุไหงโก-ลก
งบประมาณ ดังนี้
- ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ 1 แผ่น × 1,200 บาท = 1,200 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากรผู้ฝึกซ้อม 300 บาท × 20 วัน × 4 คน = 24,000 บาท
- อุปกรณ์การฝึก
* มาร์คเกอร์ 1 ชุด ×1,500 บาท = 1,500 บาท
* Speed ladder (บันไดลิง) ขนาด 4 เมตร 1 ชุด × 1,500 บาท = 1,500 บาท
* Cone กรวยจราจรชนิดเจาะรู ขนาด 16 นิ้ว 380 บาท × 8 ชิ้น = 3,040 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ออกกำลังกาย

 

0 0

2. อบรมให้ความรู้เรื่องโทษของยาเสพติดและการใช้ social อย่างสร้างสรรค์

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย เด็กและเยาวชน 70 คน
รายละเอียดกิจกรรม ดังนี้
- อบรมให้ความรู้ถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด และการใช้ social อย่างสร้างสรรค์
กำหนดการอบรม ดังนี้
08.15 - 08.30 น. ลงทะเบียน
08.31 - 09.00 น. เปิดพิธีการอบรม
09.01 - 12.00 น. อบรมให้ความรู้ เรื่องโทษและพิษภัยของยาเสพติด วิทยากรบรรยายโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
12.01 - 13.00 น. พักรับประทานอาหาร
13.01 - 16.00 น. การใช้ social อย่างสร้างสรรค์ วิทยากรบรรยายโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
งบประมาณดังนี้
- ค่าตอบแทนวิทยากร 600 บาท × 6 ชม. = 3,600 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน 60 บาท × 70 คน = 4,200 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 บาท × 70 คน × 2 มื้อ = 4,200 บาท
- ค่าอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม ได้แก่ เครื่องเขียน ปากกา สมุด แฟ้ม เป็นเงิน = 1,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมสุขภาพของเด็กและเยาวชนด้วยกีฬาฟุตบอล
ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กและเยาวชนมีสุขภาพที่แข็งแรงขึ้น
80.00 40.00

 

2 เพื่อให้เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องโทษของยาเสพติดและการปฏิเสธที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมีความรู้เรื่องโทษของยาเสพติดและการปฏิเสธที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น
60.00 80.00

 

3 เพื่อลดระยะเวลาการเล่น social ของเด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนลดระยะเวลาการเล่น social ในแต่ละวัน
3.00 2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมสุขภาพของเด็กและเยาวชนด้วยกีฬาฟุตบอล (2) เพื่อให้เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องโทษของยาเสพติดและการปฏิเสธที่ถูกต้อง (3) เพื่อลดระยะเวลาการเล่น social ของเด็กและเยาวชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยกีฬาฟุตบอล (2) อบรมให้ความรู้เรื่องโทษของยาเสพติดและการใช้ social อย่างสร้างสรรค์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคลีนิคยุวชนคนรักสุขภาพชมรม "พี่สอนน้อง เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก" ประจำปี 2566 จังหวัด กรุงเทพมหานคร

รหัสโครงการ 66-L6961-2-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเนาวรินทร์ จารุพงศา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด