กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการอบรมฟื้นฟูผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2566 ”

ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอซีดา เจ๊ะแว

ชื่อโครงการ โครงการอบรมฟื้นฟูผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L6961-1-45 เลขที่ข้อตกลง 78/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กรกฎาคม 2566 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมฟื้นฟูผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมฟื้นฟูผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมฟื้นฟูผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L6961-1-45 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กรกฎาคม 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 30 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันจะเห็นได้ว่าโครงสร้างประชากรไทยอยู่ในระยะที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะประชากรสูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) ปี 2564 ประชากรไทยที่อายุ 60 ปีขึ้นไป จะมีมากถึงร้อยละ 20 เรียกว่าเป็น " สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์" และจะเป็น " สังคมสูงวัยระดับสุดยอด" จึงคลาดว่าในปี 2574 เมื่อประชากรสูงอายุเพิ่มเป็น ร้อยละ 28 ผลการสำรวจสุขภาพประชาชนไทย พบว่า ผู้สูงอายุเป็นโรคเรื้อรัง (โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน และโรคหลอดเลือดสมอง) และมีภาวะถดถอยของสมรรถนะทางร่างกายซึ่งลักษณะการอยู่อาศัยของครอบครัวไทย ผู้สูงอายุที่อยู่ลำพังกับคู่สมรส หรืออยู่ตามลำพังคนเดียว มีจำนวนมากขึ้นผู้สูงอายุวัยปลาย (อายุ 80 ปีขึ้นไป) มีมากถึงร้อยละ 25 ที่ต้องการการดูแลปรนนิบัติ แต่มีผู้สูงอายุที่ต้องการดูแล แต่ไม่สามารถมีผู้ดูแลได้ เป็นสัดส่วนมากถึง ร้อยละ 4 ของผู้สูงอายุวัยปลายทั้งหมด จากสถานการณ์ และแนวโน้มของสัดส่วนผู้สูงอายุ และความเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังทั้งทางกาย และจิตใจ รัฐบาลจึงจำเป็นต้องมีการเตรียมระบบการดูแลสุขภาพของประชากรผู้สูงอายุ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช) จึงได้จัดตั้งคณะทำงานพัฒนาประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข ด้านการดูแลระยะยาว สำหรับผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง และสนับสนุนให้จัดหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุ โดยดำเนินการภายใต้ศูนย์พัฒนา และฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และคนพิการ ทั้งนี้ ให้จัดตั้ง และกำกับ หรือดำเนินการโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานของรัฐ (ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2560) ในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโกลก พบว่าประชากรผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากปี พ.ศ. 2563 ผู้สูงอายุมีทั้งหมด5,866 คน คิดเป็นร้อยละ 14.37 ปี พ.ศ. 2564 จำนวน 6,075 คน คิดเป็นร้อยละ 14.95 และปี พ.ศ. 2565 จำนวน 6,203 คน คิดเป็นร้อยละ 15.43 ตามลำดับ ซึ่งมีกลุ่มผู้สูงอายุมีติดบ้านติดเตียง ในปี 2565 จำนวน 57 คน ส่งผลให้ผู้สูงอายุบ้างกลุ่มที่มีโรคประจำตัว ติดบ้านติดเตียงหลังจากกลับรักษาตัวที่โรงพยาบาลแล้ว ไม่สามารถดูแลตนเองได้ และผู้ดูแลขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงขณะอยู่ที่บ้านบางรายนอนติดเตียงนานจึงทำให้เกิดภาวะ มีแผลกดทับ อักเสบรุนแรง ข้อติดแข็ง ตามร่างกาย ส่งผลให้ผู้สูงอายุต้องกลับไปรักษาตัวอีกครั้งในโรงพยาบาล และส่งผลกระทบต่อการเพิ่มของความต้องการค่าใช้จ่ายด้านการดูแลรักษาพยาบาล ทั้งนี้หากผู้สูงอายุปรับตัวได้ทันกับความเปลี่ยนแปลงก็จะสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข เกิดความพึงพอใจในชีวิต แต่ถ้าไม่พร้อมหรือปรับตัวไม่ได้และไม่ดีพอ จะส่งผลให้เกิดความรู้สึกว่าตนเองโดดเดี่ยวเหงา ถูกทอดทิ้ง มีความวิตกกังวล ท้อแท้ไม่อยากมีชีวิตอยู่ รู้สึกคุณค่าในชีวิตลดน้อยลง ทั้งนี้การดูแลทางด้านจิตใจเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่ง ไม่ว่าจะเป็นภาวะความเครียด ความวิตกกังวล ความเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนในร่างกายจากภาวะร่างกายที่เสื่อมถอยด้วยโรคที่เป็นอยู่ ผู้สูงอายุบางคนอาจมีภาวะโรคซึมเศร้าแอบแฝงอยู่อย่างไม่รู้ตัว ซึ่งผู้ดูแลและคนใกล้ชิดต้องหมั่นคอยสังเกตว่าลักษณะการแสดงออกแบบใด ที่เป็นสัญญาณน่าห่วงในเรื่องสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ดังนั้นทางกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในวัยผู้สูงอายุและความรู้ทักษะ พื้นฐานในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่อสังคมได้อย่างแท้จริงรวมถึงได้ให้ความสำคัญในการส่งเสริม ป้องกัน มุ่งเน้นการมีส่วนรวมของผู้ดูแลผู้สูงอายุและครอบครัว โดยจะประเมินความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวันตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอลเท่ากับหรือน้อยกว่าสิบเอ็ดคะแนน ตามหลักเกณฑ์ การประเมินที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด จำแนกเป็นกลุ่มเป้าหมาย ออกเป็น ๔ กลุ่มและตามนโยบายขององค์กรปกครองท้องถิ่น เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จึงได้จัดทำโครงการ “อบรมฟื้นฟูผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตเทศบาล” ผู้จัดคาดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ดูแลผู้สูงอายุและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีไม่เป็นภาระต่อสังคมและครอบครัวอีกต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ดูแลมีความรู้ด้านสุขภาพในวัยผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
  2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ดูแลมีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
  3. เพื่อให้ผู้ดูแลมีความรู้การเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและการเจ็บป่วยในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมฟื้นฟูผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
  2. จัดทำสื่่อการเรียนรู้ เพื่อการดูย้อนหลัง
  3. เยี่ยมบ้านร่วมกับผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตเทศบาล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ดูแลมีความรู้ด้านสุขภาพของวัยผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
  2. ผู้ดูแลมีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
  3. ผู้ดูแลมีความรู้ เฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและการเจ็บป่วยในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมฟื้นฟูผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

วันที่ 3 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย
ผู้สูงอายุ 30 คน
กำหนดการ
08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน / ทำแบบทดสอบก่อนให้ความรู้ / เปิดโครงการ
09.01 - 11.00 น. วิทยากรให้ความรู้ ความสำคัญในกลุ่มวันผู้สูงอายุ
ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และ โรคต่างๆ
ภาวะเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในกลุ่มวัยผู้สูงอายุ
11.01 - 12.00 น. เชิญบุคคลต้นแบบเล่าประสบการณ์จริงในการดูแลผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหาร
13.01 - 15.00 น. วิทยากรให้ความรู้เรื่อง การรับประทานอาหารตามธาตุเจ้าเรือน และ สาธิตทำยาหม่องไพลแก้ปวดเมื่อย
15.01 - 16.00 น. วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับ การออกกำลังกายในวัยสูงอายุ ติดบ้านติดเตียง
ทำแบบทดสอบหลังได้รับความรู้
หมายเหตุ กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา 10.31 น. และ 15.15 น.
งบประมาณ
ค่าตอบแทนวิทยากร 3,600 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2,100 บาท
ค่าอาหารกลางวัน 2,100 บาท
ค่าป้ายโครงการ 1,090 บาท
ค่าวัสดุอุปกรณ์ 1,500 บาท
งบประมาณ 10,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

2. จัดทำสื่่อการเรียนรู้ เพื่อการดูย้อนหลัง

วันที่ 3 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย
ผู้สูงอายุ 30 คน
กำหนดการ
08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน / ทำแบบทดสอบก่อนให้ความรู้ / เปิดโครงการ
09.01 - 11.00 น. วิทยากรให้ความรู้ ความสำคัญในกลุ่มวันผู้สูงอายุ
ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และ โรคต่างๆ
ภาวะเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในกลุ่มวัยผู้สูงอายุ
11.01 - 12.00 น. เชิญบุคคลต้นแบบเล่าประสบการณ์จริงในการดูแลผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหาร
13.01 - 15.00 น. วิทยากรให้ความรู้เรื่อง การรับประทานอาหารตามธาตุเจ้าเรือน และ สาธิตทำยาหม่องไพลแก้ปวดเมื่อย
15.01 - 16.00 น. วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับ การออกกำลังกายในวัยสูงอายุ ติดบ้านติดเตียง
ทำแบบทดสอบหลังได้รับความรู้
หมายเหตุ กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา 10.31 น. และ 15.15 น.
งบประมาณ
ค่าตอบแทนวิทยากร  3,600 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  2,100 บาท
ค่าอาหารกลางวัน  2,100 บาท
ค่าป้ายโครงการ  1,090 บาท
ค่าวัสดุอุปกรณ์  1,500 บาท
งบประมาณ  10,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

3. เยี่ยมบ้านร่วมกับผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตเทศบาล

วันที่ 3 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย
ผู้สูงอายุ 30 คน
กำหนดการ
08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน / ทำแบบทดสอบก่อนให้ความรู้ / เปิดโครงการ
09.01 - 11.00 น. วิทยากรให้ความรู้ ความสำคัญในกลุ่มวันผู้สูงอายุ
ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และ โรคต่างๆ
ภาวะเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในกลุ่มวัยผู้สูงอายุ
11.01 - 12.00 น. เชิญบุคคลต้นแบบเล่าประสบการณ์จริงในการดูแลผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหาร
13.01 - 15.00 น. วิทยากรให้ความรู้เรื่อง การรับประทานอาหารตามธาตุเจ้าเรือน และ สาธิตทำยาหม่องไพลแก้ปวดเมื่อย
15.01 - 16.00 น. วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับ การออกกำลังกายในวัยสูงอายุ ติดบ้านติดเตียง
ทำแบบทดสอบหลังได้รับความรู้
หมายเหตุ กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา 10.31 น. และ 15.15 น.
งบประมาณ
ค่าตอบแทนวิทยากร  3,600 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  2,100 บาท
ค่าอาหารกลางวัน  2,100 บาท
ค่าป้ายโครงการ  1,090 บาท
ค่าวัสดุอุปกรณ์  1,500 บาท
งบประมาณ  10,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ดูแลมีความรู้ด้านสุขภาพในวัยผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้ดูแลมีระดับคะแนนความรู้ความเข้าใจด้านสุขภาพในวัยผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงเพิ่มขึน ร้อยละ 80
50.00 80.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ดูแลมีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้ดูแลมีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงเพิ่มขึ้นและถูกต้อง ร้อยละ 80
50.00 80.00

 

3 เพื่อให้ผู้ดูแลมีความรู้การเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและการเจ็บป่วยในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้ดูแลมีความรู้เฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและการเจ็บป่วยในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
50.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ดูแลมีความรู้ด้านสุขภาพในวัยผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ดูแลมีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (3) เพื่อให้ผู้ดูแลมีความรู้การเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและการเจ็บป่วยในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมฟื้นฟูผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก (2) จัดทำสื่่อการเรียนรู้ เพื่อการดูย้อนหลัง (3) เยี่ยมบ้านร่วมกับผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตเทศบาล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมฟื้นฟูผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L6961-1-45

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรอซีดา เจ๊ะแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด