กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสาธารณสุขอย่างมีคุณภาพ ประจำปี 2566 ”
เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก



หัวหน้าโครงการ
นางเพ็ญนภา มะหะหมัด




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสาธารณสุขอย่างมีคุณภาพ ประจำปี 2566

ที่อยู่ เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก จังหวัด กรุงเทพมหานคร

รหัสโครงการ 66-L6961-1-01 เลขที่ข้อตกลง 5/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 31 กรกฎาคม 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสาธารณสุขอย่างมีคุณภาพ ประจำปี 2566 จังหวัดกรุงเทพมหานคร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสาธารณสุขอย่างมีคุณภาพ ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสาธารณสุขอย่างมีคุณภาพ ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก รหัสโครงการ 66-L6961-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2566 - 31 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 30 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยสมบูรณ์ทำให้ พบภาวะผิดปกติด้านสุขภาพ โดยเฉพาะกลุ่มอาการจำเพาะ ในผู้สูงอายุ (Geriatric syndromes) มากขึ้น ซึ่งเกิดจากภาวะถดถอยของการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย และความเสื่อมจากความชราที่เพิ่มขึ้น การเปลี่ยนแปลงทั้งด้านโครงสร้างของประชากร ด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม ย่อมมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ การทำให้ผู้สูงอายุสามารถช่วยเหลือตัวเองได้นานที่สุดจึงเป็นสิ่งสำคัญมากที่สุดอย่างหนึ่ง ปัจจุบัน การดูแลผู้ป่วยสูงอายุ มีความสลับซ้ำซ้อนมากขึ้น จึงจำเป็นที่บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขจะต้องทราบและเข้าใจถึงผลกระทบต่อสุขภาพของผู้สูงอายุ และต้องอาศัยการดูแลแบบทีมสหวิชาชีพ ที่เป็นการร่วมมือประสานเสริมกันในหลายสาขา เพื่อดูแลผู้ป่วยสูงอายุพร้อมๆกัน ซึ่งเป็นหัวใจ สำคัญของระบบบริการสุขภาพ เพื่อให้เกิดการบริการที่รวดเร็ว ทันเวลา มีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผลในการดูแล ตลอดจนประสานความเข้าใจกับผู้ดูแล ญาติ และครอบครัวจึงต้องมีการพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุให้มีคุณภาพ ด้านนโยบายกระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายให้หน่วยบริการปฐมภูมิทุกแห่ง มีการพัฒนาและมีการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุเป็นการเฉพาะ ซึ่งเป็นการให้บริการสุขภาพ ผู้สูงอายุแบบองค์รวม ทั้งทางด้านสุขภาพกาย จิตใจ สังคม และตามสภาพความจำเป็น การพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุในเขต ตำบลสุไหงโก-ลก ทั้ง 3 แห่ง ได้แก่ ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1, ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 และคลินิกผู้สูงอายุในโรงพยาบาลสุไหงโก-ลกได้มีการพัฒนาและผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน จากการวิเคราะห์สถานการณ์พบว่า คลินิกผู้สูงอายุ ทั้ง 3 แห่ง จำเป็นต้องมีการพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุให้ผ่านระดับคุณภาพ อีกทั้งพบว่าคลินิกผู้สูงอายุ ทั้ง 3 แห่ง ยังไม่มีอุปกรณ์และชุดคู่มือการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ กันล้ม ก้นลืม ไม่ซึมเศร้า ใช้ในผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ เพื่อดูแลผู้สูงอายุในคลินิกผู้สูงอายุให้มีคุณภาพ ทางกลุ่มปฐมภูมิโรงพยาบาลสุไหงโก-ลกจึงได้จัดทำ โครงการส่งเสริมผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสาธารณสุขอย่างมีคุณภาพ ประจำปี 2566 นี้ขึ้นเพื่อพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุให้มีคุณภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรคเกี่ยวกับผู้สูงอายุ (Geriatric syndrome) อย่างครอบคลุม
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงภาวะหกล้มสมองเสื่อม และภาวะซึมเศร้า ได้รับการจัดบริการที่เหมาะสม
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุุได้รับบริการในคลินิกผู้สูงอายุที่ผ่านเกณฑ์ระดับคุณภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน จำนวน 2 ครั้ง
  2. อบรมแนวทางการพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพแก่ผู้รับผิดชอบด้านผู้สูงอายุ จำนวน 30 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรคเกี่ยวกับผู้สูงอายุ (Geriatric sydrome) อย่างครอบคลุม
  2. ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงภาวะหกล้มสมองเสื่อม และภาวะซึมเศร้า ได้รับการจัดบริการที่เหมาะสม
  3. ผู้สูงอายุุได้รับบริการในคลินิกผู้สูงอายุที่ผ่านเกณฑ์ระดับคุณภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรคเกี่ยวกับผู้สูงอายุ (Geriatric syndrome) อย่างครอบคลุม
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรคเกี่ยวกับผู้สูงอายุ (Geriatric sydrome) ร้อยละ 100
80.00 100.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงภาวะหกล้มสมองเสื่อม และภาวะซึมเศร้า ได้รับการจัดบริการที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : อัตราผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงภาวะหกล้มสมองเสื่อม และภาวะซึมเศร้า ได้รับการจัดบริการที่เหมาะสมร้อยละ 30
20.00 30.00

 

3 เพื่อให้ผู้สูงอายุุได้รับบริการในคลินิกผู้สูงอายุที่ผ่านเกณฑ์ระดับคุณภาพ
ตัวชี้วัด : อัตราคลินิกผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ระดับคุณภาพ ร้อยละ 100
70.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรคเกี่ยวกับผู้สูงอายุ (Geriatric syndrome) อย่างครอบคลุม (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงภาวะหกล้มสมองเสื่อม และภาวะซึมเศร้า ได้รับการจัดบริการที่เหมาะสม (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุุได้รับบริการในคลินิกผู้สูงอายุที่ผ่านเกณฑ์ระดับคุณภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน จำนวน 2 ครั้ง (2) อบรมแนวทางการพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพแก่ผู้รับผิดชอบด้านผู้สูงอายุ จำนวน 30 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสาธารณสุขอย่างมีคุณภาพ ประจำปี 2566 จังหวัด กรุงเทพมหานคร

รหัสโครงการ 66-L6961-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเพ็ญนภา มะหะหมัด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด