กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการผู้พิการยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2566 ”

ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายไสว เวทมาหะ

ชื่อโครงการ โครงการผู้พิการยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L6961-3-02 เลขที่ข้อตกลง 25/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 31 มีนาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้พิการยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้พิการยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้พิการยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L6961-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 31 มีนาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 30 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

คนพิการ เป็นบุคคลซึ่งมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคม เนื่องจากมีความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญา การเรียนรู้ หรือความบกพร่องอื่นใด ประกอบกับมีอุปสรรคในด้านต่าง ๆ และมีความจำเป็นเป็นพิเศษที่จะต้องได้รับความช่วยเหลือด้านหนึ่งด้านใด เพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมได้อย่างบุคคลทั่วไป ทั้งนี้ตามประเภทและหลักเกณฑ์ที่กำหนดในกฎกระทรวง“การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ” หมายความว่า การเสริมสร้างสมรรถภาพหรือความสามารถของคนพิการให้มีสภาพที่ดีขึ้น หรือดำรงสมรรถภาพหรือความสามารถที่มีอยู่เดิมไว้ โดยอาศัยกระบวนการทางการแพทย์ การศาสนา การศึกษา สังคม อาชีพ หรือกระบวนการอื่นใด เพื่อให้คนพิการได้มีโอกาสทำงานหรือดำรงชีวิตในสังคมอย่างเต็มศักยภาพและ “การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต” หมายความว่า การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ การจัดสวัสดิการการส่งเสริมและพิทักษ์สิทธิ การสนับสนุนให้คนพิการสามารถดำรงชีวิตอิสระ มีศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์และเสมอภาคกับบุคคลทั่วไป มีส่วนร่วมทางสังคมอย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่คนพิการสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้
นอกจากสุขภาพกายแล้วการพัฒนาสุขภาพใจของผู้พิการก็เป็นเรื่องที่ควรให้ความสำคัญเช่นกัน จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(โควิด – 19) ทำให้ผู้พิการผู้ซึ่งมีสภาพทางอารมณ์และจิตใจที่เปลี่ยนแปลงได้ง่ายต่อสิ่งเร้ารอบๆข้าง เกิดความเครียด ความกลัว ความวิตกกังวลมากขึ้น คนพิการจึงควรได้รับการส่งเสริมด้านจิตใจให้มากขึ้น การได้ร่วมทำกิจกรรมกับกลุ่มเพื่อน จะช่วยให้คนพิการไม่กลับไปหมกมุ่นอยู่กับภาพลักษณ์ของตนเอง รู้จักตนเอง รู้สึกมีคุณค่า มีกำลังใจที่จะสู้กับสภาพความเป็นจริง นำไปสู่การอยู่ร่วมกับครอบครัว ชุมชน และสังคมได้อย่างมีความสุข จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อสนับสนุนและกระตุ้นให้ผู้พิการได้ดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้พิการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่อง
  2. เพื่อส่งเสริมให้รู้จักการนำสมุนไพรใกล้ตัวมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดูแลสุขภาพตนเองและผู้อื่น
  3. เพื่อให้ผู้พิการมีสภาพจิตใจที่ดีขึ้น พร้อมที่จะดำเนินชีวิตได้ปกติสุขทางสังคม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้พร้อมปฏิบัติการและสาธิต

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการ 30

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้พิการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่อง
  2. ผู้พิการรู้จักการนำสมุนไพรใกล้ตัวมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดูแลสุขภาพตนเองและผู้อื่น
  3. ผู้พิการมีสภาพจิตใจที่ดีขึ้น พร้อมที่จะดำเนินชีวิตได้ปกติสุขทางสังคม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้พร้อมปฏิบัติการและสาธิต

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย
ผู้พิการและผู้ดูแล 30 คน
รายละเอียดกิจกรรม
ประสานวิทยากรจากโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก
จัดอบรมให้แก่ผู้พิการและผู้ดูแลเป็นระยะเวลา 2 วัน
กำหนดการ
วันที่ 1
08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียนและเปิดโครงการ
09.01 - 10.00 น. ตรวจสุขภาพและบรรยายการดูแลสุขภาพกายใจผู้พิการ วิทยากรบรรยายโดย เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก
10.01 - 12.00 น. อบรมให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกาย เช่น ฝึกการบริหารกล้ามเนื้อ วิทยากรบรรยายโดย เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก
12.01 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.01 - 16.00 น. อบรมให้ความรู้ พร้อมสาธิตการดูแลสุขภาพตนเองด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย เช่น การสุมยา การรับประทานยาสมุนไพร การออกกำลังกายบำรุงปอด เป็นต้น
วิทยากรบรรยายโดย เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก
วันที่ 2
09.00 - 12.00 น. อบรมให้ความรู้เรื่องการใช้ลูกประคบร้อนรักษาร่างกายสาธิตการทำลูกประคบไว้ใช้เอง วิทยากรบรรยายโดย เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก
12.01 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.01 - 16.00 น. อบรมหลักการนวดเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ พร้อมฝึกการใช้ลูกประคบ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนจากคนพิการตัวอย่าง
วิทยากรบรรยายโดย เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก
งบประมาณ
1. ค่าตอบแทนวิทยากร 7,200 บาท
2. ค่าอาหารกลางวัน 3,600 บาท
3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 3,600 บาท
4. ค่าวัสดุอุปกรณ์
- ลูกประคบ 2,400 บาท
- สมุนไพร (ตะไคร้ ไพล เป็นต้น) 3,000 บาท
5. ค่าป้ายไวนิลโครงการ 1,200 บาท
6. ค่าเอกสารประกอบการอบรม 600 บาท
งบประมาณ 21,600 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้พิการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 80
70.00 80.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้รู้จักการนำสมุนไพรใกล้ตัวมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดูแลสุขภาพตนเองและผู้อื่น
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการ รู้จักวิธีดูแลตนเองด้วยสมุนไพรใกล้ตัวไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
60.00 80.00

 

3 เพื่อให้ผู้พิการมีสภาพจิตใจที่ดีขึ้น พร้อมที่จะดำเนินชีวิตได้ปกติสุขทางสังคม
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจร้อยละ 80
50.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
กลุ่มผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการ 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้พิการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อส่งเสริมให้รู้จักการนำสมุนไพรใกล้ตัวมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดูแลสุขภาพตนเองและผู้อื่น (3) เพื่อให้ผู้พิการมีสภาพจิตใจที่ดีขึ้น พร้อมที่จะดำเนินชีวิตได้ปกติสุขทางสังคม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้พร้อมปฏิบัติการและสาธิต

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผู้พิการยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L6961-3-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายไสว เวทมาหะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด