กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเอาไง วัยรุ่น ประจำปี 2566 ”
ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นายมงคล วัฒนารักษ์สกุล




ชื่อโครงการ โครงการเอาไง วัยรุ่น ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L6961-2-26 เลขที่ข้อตกลง 81/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเอาไง วัยรุ่น ประจำปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเอาไง วัยรุ่น ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเอาไง วัยรุ่น ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L6961-2-26 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 57,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 50 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กและะเยาวชนคืออนาคตของชาติ และถือเป็นทรัพยากรของประเทศชาติ เราจึงควรให้ความสำคัญ โดยนำกีฬาที่เยาวชนส่วนใหญ่ให้ความสนใจ เช่นกีฬา ฟุตบอล เพื่อพัฒนาการเล่นฟุตบอลอย่างถูกต้องถูกวิธี การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สร้างความความรับผิดชอบ รู้จักการแบ่งเวลาให้ถูกต้องสร้างระเบียบวินัยในตัวเอง อีกยังเป็นการส่งเสริมสุขภาพพลานามัยของเด็กให้มีสุขภาพที่แข็งแรงเพื่อเป็นกำลังสำคัญของชาติต่อไป จากที่กล่าวมาเนื่องด้วยในสังคมปัจจุบัน เด็กๆและเยาวชนส่วนใหญ่พกโทรศัพท์มือถือ (ไว้ติดต่อสื่อสารผู้ปกครอง) แต่เด็กและเยาวชนส่วนใหญ่ใช้โทรศัพท์มือเล่นเกมส์ ติดมือถือ ทำให้เกิดปัญหาเรื่องการแยกแยะเวลาไม่ถูกต้อง ใช้เวลาว่างไม่เกิดประโยชน์ หรือเรียกว่าโรค สมาธิสั้น อีกหนึ่งปัญหาที่พบส่วนใหญ่กับเด็กๆและเยาวชนส่วนใหญ่คือปัญหาเรื่องยาเสพติด เช่นบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า ดื่มน้ำกระท่อม และยาเสพติดอื่นๆ เนื่องจากเด็กๆอยู่ในวัยครึกคะนอง ชอบลองตามเพื่อน เด็กจะมั่วสุมทำไปด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เสี่ยงมากร้อยละ 80 ของเด็กวัยเรียนอายุ 12-15 ปี ติดเกมส์ ติดโทรศัพท์มือถือและมีโอกาสเสี่ยงต่อสิ่งยั่วยุยาเสพติด เช่น บุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า ยาเสพติดอื่นๆ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสนับสนุนให้เด็กวัยเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ไม่ติดเกม ห่างไกลจากสิ่งเสพติด และสิ่งยั่วยุอื่นๆ
  2. เพื่อสนับสนุนให้เด็กวัยเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยการออกกำลังกาย
  3. เพื่อพัฒนาเยาวชนให้มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นคนเก่งและคนดีในสังคม อันนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด และการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ มือถือ คอมพิวเตอร์ social อย่างสร้างสรรค์
  2. วัยรุ่น เตะบอลกัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กวัยเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ไม่ติดเกม ห่างไกลจากสิ่งเสพติด และสิ่งยั่วยุอื่นๆ
  2. เด็กวัยเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอล
  3. เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีคุณธรรม จริยธรรม เป็นคนเก่งและคนดีในสังคม อันนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้ถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด และการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ มือถือ คอมพิวเตอร์ social อย่างสร้างสรรค์

วันที่ 8 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย
เด็กและเยาวชน อายุระหว่าง 12-15 ปี จำนวน 50 คน
รายละเอียดกิจกรรม
- อบรมให้ความรู้ถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด และการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ มือถือ คอมพิวเตอร์ social อย่างสร้างสรรค์
กำหนดการอบรม ดังนี้
08.15 - 08.30 น. ลงทะเบียน
08.30 - 09.00 น. เปิดพิธีการอบรม
09.00 - 12.00 น. อบรมให้ความรู้ การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สร้างความเข้าใจถึงเรื่องโทษและพิษภัยของยาเสพติด
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหาร
13.00 - 16.00 น. การใช้อุปกรณ์สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อsocial อย่างสร้างสรรค์
งบประมาณ ดังนี้
- ค่าตอบแทนวิทยากร 600 บาท × 6 ชม. = 3,600 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน 60 บาท × 50 คน = 3,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 บาท × 50 คน × 2 มื้อ = 3,000 บาท
- ค่าอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม ได้แก่ เครื่องเขียน ปากกา สมุด แฟ้ม เป็นเงิน = 1,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ให้ความรู้

 

0 0

2. วัยรุ่น เตะบอลกัน

วันที่ 16 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย เยาวชนอายุ ระหว่าง 12-15 ปี จำนวน 50 คน
รายละเอียดกิจกรรม
- จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยฟุตบอล ระหว่างวันที่ 16 กรกฎาคม2566 - 30 กันยายน 2566 (ในวันเสาร์และอาทิตย์)
กำหนดการ
ระหว่างวันที่ 16 กรกฎาคม 2566 -30 กันยายน 2566
- ทดสอบสมรรถภาพร่างกายก่อนฝึกอบรม
- การอบอุ่นร่างกาย
- การออกกำลังกาย
- สอนเทคนิคการเล่นฟุตบอล
- ฝึกปฎิบัติทักษะการครองบอล / การรับ - ส่งบอล
-ฝึกการเล่นฟุตบอลเป็นทีม ให้เรา้าใจคำว่า ทีมเวิร์ค
งบประมาณ
- ค่าตอบแทนผู้ฝึกซ้อม 4 คน x 400 บาท x 18 วัน เป็นเงิน 28,800 บาท
- ค่าจัดซื้อลูกฟุตบอล 25 ลูก x 700 บาท เป็นเงิน 17,500 บาท
- นกหวีด 3 อัน x 250 บาท เป็นเงิน 750 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสนับสนุนให้เด็กวัยเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ไม่ติดเกม ห่างไกลจากสิ่งเสพติด และสิ่งยั่วยุอื่นๆ
ตัวชี้วัด : เด็กวัยเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ลดการติดเกม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90
50.00 90.00

 

2 เพื่อสนับสนุนให้เด็กวัยเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยการออกกำลังกาย
ตัวชี้วัด : เด็กวัยเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ได้ใช้เวลาว่างออกกำลังกายไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90
50.00 90.00

 

3 เพื่อพัฒนาเยาวชนให้มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นคนเก่งและคนดีในสังคม อันนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป
ตัวชี้วัด : เด็กเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ มีความเข้าใจ มีน้ำใจ รู้แพ้รู้ชนะรู้อภัย แก่เพื่อนร่วมโครงการ
50.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสนับสนุนให้เด็กวัยเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ไม่ติดเกม ห่างไกลจากสิ่งเสพติด และสิ่งยั่วยุอื่นๆ (2) เพื่อสนับสนุนให้เด็กวัยเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยการออกกำลังกาย (3) เพื่อพัฒนาเยาวชนให้มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นคนเก่งและคนดีในสังคม อันนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด และการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ มือถือ คอมพิวเตอร์ social อย่างสร้างสรรค์ (2) วัยรุ่น เตะบอลกัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเอาไง วัยรุ่น ประจำปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L6961-2-26

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมงคล วัฒนารักษ์สกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด