กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการศิลปะบำบัดด้วยการปั้น โรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านตันหยงมะลิ) ประจำปี 2566 ”

โรงเรียนเทศบาล 2(ตันหยงมะลิ)

หัวหน้าโครงการ
นางสาวจันทร์เพ็ญ จริงจิตร

ชื่อโครงการ โครงการศิลปะบำบัดด้วยการปั้น โรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านตันหยงมะลิ) ประจำปี 2566

ที่อยู่ โรงเรียนเทศบาล 2(ตันหยงมะลิ) จังหวัด กรุงเทพมหานคร

รหัสโครงการ 66-L6961-2-08 เลขที่ข้อตกลง 27/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 31 มีนาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการศิลปะบำบัดด้วยการปั้น โรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านตันหยงมะลิ) ประจำปี 2566 จังหวัดกรุงเทพมหานคร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนเทศบาล 2(ตันหยงมะลิ)

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการศิลปะบำบัดด้วยการปั้น โรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านตันหยงมะลิ) ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการศิลปะบำบัดด้วยการปั้น โรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านตันหยงมะลิ) ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนเทศบาล 2(ตันหยงมะลิ) รหัสโครงการ 66-L6961-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 กุมภาพันธ์ 2566 - 31 มีนาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,960.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 82 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ศิลปะบำบัด พัฒนาสุขภาพจิต สร้างเสริมความคิด โดยกระบวนการทางศิลปะบำบัดนั้นจะช่วยดูแลสภาพจิตใจของคนเราได้อย่างไรบ้าง เกิดความคิดสร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ หมายถึง ลักษณะของความคิดที่มีหลายมิติ สามารถคิดได้กว้างไกล ไร้กรอบและขอบเขต ประกอบด้วย ความคิดริเริ่ม ช่วยให้มีความคิดแปลกใหม่เกิดการนำความรู้เดิมมาดัดแปลงให้เกิดเป็นสิ่งใหม่ ความคล่องแคล่ว ช่วยให้เกิดความคิดที่รวดเร็ว ไม่ซ้ำในเรื่องเดียวกัน ไม่หมกมุ่น นำมาซึ่งการพูดและการกระทำที่คล่องแคล่ว ความยืดหยุ่น ช่วยให้เกิดความคิดที่หลากหลายมุมมอง ไม่ยึดติด ไม่ซ้ำรูปแบบกรอบความคิดแบบเดิมๆ ความละเอียดลออ ช่วยให้มีความพิถีพิถันในการทำสิ่งต่าง ๆ ช่างสังเกตในสิ่งที่คนอื่นมองข้ามโดยความคิดสร้างสรรค์ทั้ง 4 ข้อนี้จะนำไปสู่การคิดประดิษฐ์สิ่งแปลกใหม่ และบูรณาการองค์ความรู้ต่างๆ ที่ได้จากประสบการณ์เดิมมาเชื่อมโยงกับสถานการณ์หรือเหตุการณ์ใหม่ แล้วสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่หรืออาจส่งผลให้เกิดเป็นนวัตกรรมตามมาได้ ช่วยแก้ปัญหาทางอารมณ์และจิตใจ ศิลปะจะทำให้ผู้ที่มีปัญหาทางอารมณ์และจิตใจได้ระบายความคับข้องใจหรือความรู้สึกที่ซุกซ่อนอยู่ในใจผ่านงานด้านศิลปะอันหลากหลาย จึงช่วยให้จิตใจผ่อนคลาย ลดความขุ่นมัวในใจ เข้าใจและรับรู้อารมณ์ต่าง ๆ ของตนเองได้ดีขึ้น สามารถยับยั้งและควบคุมอารมณ์ได้ดีขึ้นด้วย เสริมสร้างทักษะสังคม โดยการทำกิจกรรมศิลปะร่วมกันเป็นกลุ่ม ทำให้รู้จักการรอคอย ผลัดกันทำและได้ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน นอกจากนี้ยังได้เรียนรู้ที่จะแสดงอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด ความต้องการของตนเอง และสามารถเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่นผ่านงานศิลปะ ทำให้กล้ามเนื้อมีการพัฒนาและการเคลื่อนไหวที่ดี ศิลปะตอบสนองการเคลื่อนไหวของร่างกายอย่างมีอิสระและเป็นธรรมชาติ ซึ่งจะทำให้เกิดการเรียนรู้และการพัฒนาของกล้ามเนื้อ โดยสามารถควบคุมการเคลื่อนไหวอย่างเป็นขั้นเป็นตอน และบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ ทั้งนี้จากข้อมูลของศิลปะบำบัดในประเทศไทยพบว่า ส่วนใหญ่มักถูกมองเป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับผู้ที่มีปัญหาทางด้านจิตใจ โดยเฉพาะกับเด็กพิเศษหรือเด็กที่เป็นออทิสติก สมาธิสั้น แถมยังถูกนำมาใช้ประโยชน์น้อยมาก ทั้ง ๆ ที่เป็นเรื่องที่น่าสนใจอย่างยิ่ง ซึ่งต่างกับในต่างประเทศที่ได้มีการนำศิลปะบำบัดมาใช้อย่างแพร่หลาย แม้กระทั่งกับบุคคลทั่วไป เพราะเขาถือว่าศิลปะบำบัดเป็นการระบายออกทางอารมณ์ที่ดีทางหนึ่ง และตามความเป็นจริงแล้วศิลปะบำบัดไม่ได้เป็นเครื่องมือเพื่อใช้รักษาผู้ป่วยเท่านั้น แต่กับคนปกติเองไม่ว่าจะเป็นวัยใดหรือเพศใดก็สามารถนำศิลปะบำบัดมาใช้ประโยชน์ได้กับชีวิตและจิตใจเช่นเดียวกัน งานศิลปะจึงเป็นศาสตร์วิชาแขนงหนึ่งที่นับว่าให้ประโยชน์อย่างมากหากรู้จักนำมาใช้ให้ถูกต้อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อฝึกให้นักเรียนมีสมาธิในการเรียนรู้
  2. เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน
  3. เพื่อพัฒนาทักษะทางสังคมของนักเรียนในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
  4. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพจิตและอารมณ์ที่ดีขึ้นจากการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ศิลปะบำบัดด้วยการปั้น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีสมาธิในการเรียนรู้มากขึ้น
  2. นักเรียนได้รับการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในทางที่ถูกต้อง
  3. นักเรียนมีทักษะด้านสังคมในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
  4. นักเรียนมีสุขภาพจิตและอารมณ์ที่ดีขึ้นจากการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ศิลปะบำบัดด้วยการปั้น

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย
นักเรียนชั้น ป.1 - 6 จำนวน 82 คน
รายละเอียดกิจกรรม
อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนชั้น ป.1 - 6 จำนวน 82 คน แบ่งการอบรมเป็น 2 รุ่น รุ่นละ 6 ชั่วโมง
รุ่นที่ 1 นักเรียนชั้น ป.1 - 3 จำนวน 49 คน (15 ก.พ. 65)
รุ่นที่ 2 นักเรียนชั้น ป.4 - 6 จำนวน 33 คน (16 ก.พ. 65)
กำหนดการ
08.30 - 08.45 น. พิธีเปิดโครงการ / กิจกรรมสันทนาการ
08.46 - 11.45 น. อบรมในหัวข้อ ทำไมต้องเรียนศิลปะ , ศิลปะสร้างสมาธิได้อย่างไร พร้อมสาธิตวิธีการเลือกใช้ดินน้ำมัน / สาธิตวิธีการปั้นตามแบบ
และตามจินตนาการและฝึกปฏิบัติ (วิทยากรกลุ่มจาก โรงเรียนเทศบาล 1,3,4)
11.46 - 12.30 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
12.31 - 15.30 น. กิจกรรมศิลปะสร้างสมาธิ สาธิตวิธีการเลือกใช้ดินน้ำมัน / สาธิตวิธีการปั้นตามแบบ
และตามจินตนาการและฝึกปฏิบัติ (วิทยากรกลุ่มจาก โรงเรียนเทศบาล 1,3,4) (ต่อ)
15.31 - 15.45 น. สรุปความรู้ที่ได้รับจากการอบรม / จัดแสดงผลงาน
งบประมาณ ดังนี้
1. ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ประกอบด้วย
- ดินน้ำมันไร้สารพิษ  9,000 บาท
- ชุดเครื่องมือปั้น  3,000 บาท
- กระดาษโฟโต้บอร์ด ขนาด A4  3,900 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากร  14,400 บาท
3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  2,460 บาท
4. ค่าจัดทำป้ายโครงการ  1,200 บาท
งบประมาณ  33,960 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อฝึกให้นักเรียนมีสมาธิในการเรียนรู้
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีสมาธิในการเรียนรู้มากขึ้น
50.00 85.00

 

2 เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
60.00 85.00

 

3 เพื่อพัฒนาทักษะทางสังคมของนักเรียนในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีทักษะด้านสังคมในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
50.00 85.00

 

4 เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพจิตและอารมณ์ที่ดีขึ้นจากการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีสุขภาพจิตและอารมณ์ที่ดีขึ้นจากการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ
50.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อฝึกให้นักเรียนมีสมาธิในการเรียนรู้ (2) เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน (3) เพื่อพัฒนาทักษะทางสังคมของนักเรียนในการทำงานร่วมกับผู้อื่น (4) เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพจิตและอารมณ์ที่ดีขึ้นจากการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ศิลปะบำบัดด้วยการปั้น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการศิลปะบำบัดด้วยการปั้น โรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านตันหยงมะลิ) ประจำปี 2566 จังหวัด กรุงเทพมหานคร

รหัสโครงการ 66-L6961-2-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวจันทร์เพ็ญ จริงจิตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด