โครงการ รู้เร็ว รีบรักษา ยุติปัญหาวัณโรค
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ รู้เร็ว รีบรักษา ยุติปัญหาวัณโรค ”
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการ รู้เร็ว รีบรักษา ยุติปัญหาวัณโรค
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 66-50105-02-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 15 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ รู้เร็ว รีบรักษา ยุติปัญหาวัณโรค จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ รู้เร็ว รีบรักษา ยุติปัญหาวัณโรค
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ รู้เร็ว รีบรักษา ยุติปัญหาวัณโรค " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-50105-02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 15 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,480.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัณโรคยังเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขของประเทศไทย โดยองค์การอนามัยโลกจัดให้ไทยอยู่ในกลุ่ม 30 ประเทศ ที่มีปัญหาวัณโรคสูง การดำเนินงานเพื่อยุติวัณโรคให้ประสบความสำเร็จนั้นต้องอาศัยความร่วมมือของหน่วยงานภาคีเครือข่ายทุกระดับสู่จุดมุ่งหมายอันสูงสุด (Vision) คือ “เมืองไทยปลอดวัณโรคเพื่อโลกปลอดวัณโรค” (TB-Free Thailand For TB-Free World)
นายแพทย์เฉลิมพล โอสถพรมมา ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา กล่าวว่า สถานการณ์โรควัณโรคในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง หรือเขตสุขภาพที่ 12 คาดประมาณว่า ในปี 2565 จะมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และกลับเป็นซ้ำประมาณ 7,400 ราย แต่ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2564 – 16 มีนาคม 2565 มีผู้ป่วยวัณโรคขึ้นทะเบียนรักษาเพียง 1,617 ราย แสดงว่ายังมีผู้ป่วยจำนวนมากยังไม่ได้รับการวินิจฉัยและรักษา และกำลังแพร่เชื้ออยู่ในชุมชน
วัณโรคเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis หรือเรียกสั้นๆ ว่า TB เป็นได้กับอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย แต่ที่พบบ่อย คือ วัณโรคปอด ติดต่อจากคนสู่คนผ่านทางอากาศ โดยเชื้อจะออกมากับการไอ จาม ทำให้เชื้อกระจายอยู่ในอากาศ และเข้าสู่ร่างกายทางการหายใจเอาเชื้อเข้าไป ก่อให้เกิดการติดเชื้อและป่วยได้ การรักษาวัณโรคใช้เวลาค่อนข้างนานอย่างน้อย 6 เดือน กรณีวัณโรคดื้อยาที่ใช้สูตรยาระยะสั้นไม่ได้ ต้องรักษาอย่างน้อย 18 เดือน
การป้องกันไม่ให้ป่วยเป็นวัณโรค ด้วยการรักษาสุขภาพให้แข็งแรงโดยการออกกำลังกาย กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ ป้องกันตนเองโดยสวมหน้ากากอนามัยเมื่ออยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยวัณโรคระยะแพร่เชื้อ หรือเมื่ออยู่ในชุมชน สำหรับผู้ป่วยวัณโรคให้สวมหน้ากากอนามัย เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อวัณโรคสู่ผู้อื่น และต้องกินยาให้ครบถ้วนสม่ำเสมอทุกวันจนครบระยะเวลาตามแพทย์สั่ง
หากมีอาการใดอาการหนึ่งต่อไปนี้ 1.ไอติดต่อกันเกิน 2 สัปดาห์ 2.ไอมีเสมหะปนเลือด สามารถติดต่อหน่วยบริการสาธารณสุขใกล้บ้านเพื่อรับการตรวจรักษา ทั้งนี้ผู้ป่วยวัณโรคในระยะเริ่มแรก อาจไม่มีอาการใดๆ
กลุ่มเสี่ยงวัณโรค ได้แก่ กลุ่มผู้อาศัยร่วมบ้าน หรือผู้สัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วยวัณโรค, ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์, ผู้สูงอายุ > 65 ปี ที่มีโรคร่วม เช่น โรคเบาหวาน หรือโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง หรือเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวาน, ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ผู้ป่วยที่ได้รับยากดภูมิคุ้มกัน, ผู้ต้องขังในเรือนจำ, ผู้ติดสารเสพติด และบุคลากรสาธารณสุข ควรตรวจร่างกายโดยการเอกซเรย์ปอดอย่างน้อยปี 1 ละครั้ง ไม่ว่าจะมีหรือไม่มีอาการก็ตาม
ชมรม อสม.หมู่ 7 และหมู่ที่ 8 ตำบลชะมวง เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาวัณโรค จึงได้เขียนโครงการจัดกิจกรรมรณรงค์ ให้ความรู้เรื่องวัณโรค พัฒนาศักยภาพ อสม. ในการตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย เน้นย้ำ “เร่งค้นหา ดูแลรักษาให้หาย” และร่วมประชาสัมพันธ์ “วัณโรค รู้เร็ว รักษาหาย ไม่แพร่กระจาย ไม่ตีตรา”
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการตรวจค้นหา ป้องกันและควบคุมวัณโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมพัฒนาศักยภาพ อสม. “วัณโรค รู้เร็ว รักษาหาย ไม่แพร่กระจาย ไม่ตีตรา” แก่ภาคีเครือข่าย อสม.
- รณรงค์เชิงรุกให้คำแนะนำกลุ่มเสี่ยงวัณโรคไปตรวจเอ็กซ์เรย์ โดยทีม อสม. 23 คน
- ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยวัณโรครักษาอย่างต่อเนื่องจนหายขาด (DOT)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
179
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
41
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ได้พัฒนาศักยภาพ อสม.
- คุณภาพการตรวจคัดกรองวัณโรคเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
- ตรวจพบผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เพิ่มขึ้น ร้อยละ 100
- อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (Success rate) เพิ่มขึ้นร้อยละ 88
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการตรวจค้นหา ป้องกันและควบคุมวัณโรค
ตัวชี้วัด : ตรวจพบผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
0.00
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
250
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
179
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
41
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการตรวจค้นหา ป้องกันและควบคุมวัณโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมพัฒนาศักยภาพ อสม. “วัณโรค รู้เร็ว รักษาหาย ไม่แพร่กระจาย ไม่ตีตรา” แก่ภาคีเครือข่าย อสม. (2) รณรงค์เชิงรุกให้คำแนะนำกลุ่มเสี่ยงวัณโรคไปตรวจเอ็กซ์เรย์ โดยทีม อสม. 23 คน (3) ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยวัณโรครักษาอย่างต่อเนื่องจนหายขาด (DOT)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ รู้เร็ว รีบรักษา ยุติปัญหาวัณโรค จังหวัด
รหัสโครงการ 66-50105-02-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ รู้เร็ว รีบรักษา ยุติปัญหาวัณโรค ”
หัวหน้าโครงการ
กันยายน 2566
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 66-50105-02-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 15 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ รู้เร็ว รีบรักษา ยุติปัญหาวัณโรค จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ รู้เร็ว รีบรักษา ยุติปัญหาวัณโรค
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ รู้เร็ว รีบรักษา ยุติปัญหาวัณโรค " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-50105-02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 15 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,480.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัณโรคยังเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขของประเทศไทย โดยองค์การอนามัยโลกจัดให้ไทยอยู่ในกลุ่ม 30 ประเทศ ที่มีปัญหาวัณโรคสูง การดำเนินงานเพื่อยุติวัณโรคให้ประสบความสำเร็จนั้นต้องอาศัยความร่วมมือของหน่วยงานภาคีเครือข่ายทุกระดับสู่จุดมุ่งหมายอันสูงสุด (Vision) คือ “เมืองไทยปลอดวัณโรคเพื่อโลกปลอดวัณโรค” (TB-Free Thailand For TB-Free World)
นายแพทย์เฉลิมพล โอสถพรมมา ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา กล่าวว่า สถานการณ์โรควัณโรคในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง หรือเขตสุขภาพที่ 12 คาดประมาณว่า ในปี 2565 จะมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และกลับเป็นซ้ำประมาณ 7,400 ราย แต่ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2564 – 16 มีนาคม 2565 มีผู้ป่วยวัณโรคขึ้นทะเบียนรักษาเพียง 1,617 ราย แสดงว่ายังมีผู้ป่วยจำนวนมากยังไม่ได้รับการวินิจฉัยและรักษา และกำลังแพร่เชื้ออยู่ในชุมชน
วัณโรคเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis หรือเรียกสั้นๆ ว่า TB เป็นได้กับอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย แต่ที่พบบ่อย คือ วัณโรคปอด ติดต่อจากคนสู่คนผ่านทางอากาศ โดยเชื้อจะออกมากับการไอ จาม ทำให้เชื้อกระจายอยู่ในอากาศ และเข้าสู่ร่างกายทางการหายใจเอาเชื้อเข้าไป ก่อให้เกิดการติดเชื้อและป่วยได้ การรักษาวัณโรคใช้เวลาค่อนข้างนานอย่างน้อย 6 เดือน กรณีวัณโรคดื้อยาที่ใช้สูตรยาระยะสั้นไม่ได้ ต้องรักษาอย่างน้อย 18 เดือน
การป้องกันไม่ให้ป่วยเป็นวัณโรค ด้วยการรักษาสุขภาพให้แข็งแรงโดยการออกกำลังกาย กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ ป้องกันตนเองโดยสวมหน้ากากอนามัยเมื่ออยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยวัณโรคระยะแพร่เชื้อ หรือเมื่ออยู่ในชุมชน สำหรับผู้ป่วยวัณโรคให้สวมหน้ากากอนามัย เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อวัณโรคสู่ผู้อื่น และต้องกินยาให้ครบถ้วนสม่ำเสมอทุกวันจนครบระยะเวลาตามแพทย์สั่ง
หากมีอาการใดอาการหนึ่งต่อไปนี้ 1.ไอติดต่อกันเกิน 2 สัปดาห์ 2.ไอมีเสมหะปนเลือด สามารถติดต่อหน่วยบริการสาธารณสุขใกล้บ้านเพื่อรับการตรวจรักษา ทั้งนี้ผู้ป่วยวัณโรคในระยะเริ่มแรก อาจไม่มีอาการใดๆ
กลุ่มเสี่ยงวัณโรค ได้แก่ กลุ่มผู้อาศัยร่วมบ้าน หรือผู้สัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วยวัณโรค, ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์, ผู้สูงอายุ > 65 ปี ที่มีโรคร่วม เช่น โรคเบาหวาน หรือโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง หรือเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวาน, ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ผู้ป่วยที่ได้รับยากดภูมิคุ้มกัน, ผู้ต้องขังในเรือนจำ, ผู้ติดสารเสพติด และบุคลากรสาธารณสุข ควรตรวจร่างกายโดยการเอกซเรย์ปอดอย่างน้อยปี 1 ละครั้ง ไม่ว่าจะมีหรือไม่มีอาการก็ตาม
ชมรม อสม.หมู่ 7 และหมู่ที่ 8 ตำบลชะมวง เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาวัณโรค จึงได้เขียนโครงการจัดกิจกรรมรณรงค์ ให้ความรู้เรื่องวัณโรค พัฒนาศักยภาพ อสม. ในการตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย เน้นย้ำ “เร่งค้นหา ดูแลรักษาให้หาย” และร่วมประชาสัมพันธ์ “วัณโรค รู้เร็ว รักษาหาย ไม่แพร่กระจาย ไม่ตีตรา”
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการตรวจค้นหา ป้องกันและควบคุมวัณโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมพัฒนาศักยภาพ อสม. “วัณโรค รู้เร็ว รักษาหาย ไม่แพร่กระจาย ไม่ตีตรา” แก่ภาคีเครือข่าย อสม.
- รณรงค์เชิงรุกให้คำแนะนำกลุ่มเสี่ยงวัณโรคไปตรวจเอ็กซ์เรย์ โดยทีม อสม. 23 คน
- ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยวัณโรครักษาอย่างต่อเนื่องจนหายขาด (DOT)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 179 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 41 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ได้พัฒนาศักยภาพ อสม.
- คุณภาพการตรวจคัดกรองวัณโรคเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
- ตรวจพบผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เพิ่มขึ้น ร้อยละ 100
- อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (Success rate) เพิ่มขึ้นร้อยละ 88
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการตรวจค้นหา ป้องกันและควบคุมวัณโรค ตัวชี้วัด : ตรวจพบผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 |
0.00 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 250 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 179 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 41 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการตรวจค้นหา ป้องกันและควบคุมวัณโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมพัฒนาศักยภาพ อสม. “วัณโรค รู้เร็ว รักษาหาย ไม่แพร่กระจาย ไม่ตีตรา” แก่ภาคีเครือข่าย อสม. (2) รณรงค์เชิงรุกให้คำแนะนำกลุ่มเสี่ยงวัณโรคไปตรวจเอ็กซ์เรย์ โดยทีม อสม. 23 คน (3) ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยวัณโรครักษาอย่างต่อเนื่องจนหายขาด (DOT)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ รู้เร็ว รีบรักษา ยุติปัญหาวัณโรค จังหวัด
รหัสโครงการ 66-50105-02-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......