กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์


“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะโละกาโปร์ ประจำปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวศิรดา ศรีของไทย

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะโละกาโปร์ ประจำปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-50110-04-1 เลขที่ข้อตกลง 1/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 ตุลาคม 2565 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะโละกาโปร์ ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะโละกาโปร์ ประจำปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน (2) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี (3) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา (4) เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล (5) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าตอบแทนคณะกรรมการกองทุน สปสช. (2) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มของกรรมการกองทุน สปสช. และผู้เข้าร่วมประชุมฯ (3) ค่าอาหารและเครื่องดื่มของกรรมการฯ (4) ค่าตอบแทนคณะกรรมการกองทุน LTC (5) ค่าเดินทางไปราชการของคณะกรรมการกองทุน สปสช. และ กองทุน LTC (6) ค่าวัสดุอื่นๆ (7) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มของกรรมการกองทุน LTC และผู้เข้าร่วมประชุมฯ (8) โครงการพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการและผู้ขอรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนฯ ประจำปีงบประมาณ 2566 (9) ค่าจัดซื้อเครื่องปริ้นเอกสาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) เห็นควรดำเนินการโครงการดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผลการดำเนินการเกิดผลสัมฤทธิ์อย่างเป็นรูปธรรม ต่อไป

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เห็นชอบให้ดำเนินงานระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 ตามมาตรา 18 (9) และมาตรา 47 ได้สนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน และภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อดำเนินการแสวงหากำไร ดำเนินงานและบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วม เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้แก่บุคคลในพื้นที่ ให้คณะกรรมการสนับสนุนและประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรดังกล่าวเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุน กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์กรบริหารส่วนตำบลตะโละกาโปร์ เกิดขึ้นตามแนวทางการดำเนินงานดังกล่าว โดยได้ผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา ซึ่งในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นหรือพื้นที่ ต้องดำเนินการให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2557 โดยแต่ละกองทุนฯ นำหลักเกณฑ์ดังกล่าวมาจัดทำเป็นระเบียบกองทุนสำหรับใช้ในการบริหารจัดการกองทุนต่อไป ทั้งนี้ นอกเหนือจากหลักเกณฑ์ดังกล่าว ปัจจัยในการบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ ยังเกิดขึ้นจากคณะบุคคลอีกหนึ่งคณะตามที่กล่าวข้างต้น นั้นคือ คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะโละกาโปร์ อนุกรรมการฯ กล่าวคือ การที่คณะกรรมาการบริหารกองทุนมีความรู้มีความสามารถเข้าถึง เข้าใจหลักการบริหารจัดการกองทุน ก็จะทำให้กองทุนแห่งนั้นดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ประกอบกับ สำนักงานเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ซึ่งเป็นหน่วยปฏิบัติงานให้กับคณะกรรมการบริหารกองทุน ก็ต้องมีเจ้าหน้าที่ดำเนินงานกองทุนฯ วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ที่พร้อมในการสนับสนุนการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพไปพร้อมกัน ดังนั้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะโละกาโปร์ จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะโละกาโปร์ ประจำปีงบประมาณ 2566 ขึ้น ตามระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะโละกาโปร์ ได้กำหนดให้มีการประชุมของคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ อย่างน้อยปีละสี่ครั้ง โดยได้ให้เบิกเงินค่าเบี้ยประชุม และค่าวัสดุต่างๆ จากเงิน 15 % รวมกับ LTC 5% รวมทั้งหมดเป็น 20% ที่กองทุนได้ตั้งไว้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี
  3. เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา
  4. เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
  5. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าตอบแทนคณะกรรมการกองทุน สปสช.
  2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มของกรรมการกองทุน สปสช. และผู้เข้าร่วมประชุมฯ
  3. ค่าอาหารและเครื่องดื่มของกรรมการฯ
  4. ค่าตอบแทนคณะกรรมการกองทุน LTC
  5. ค่าเดินทางไปราชการของคณะกรรมการกองทุน สปสช. และ กองทุน LTC
  6. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มของกรรมการกองทุน LTC และผู้เข้าร่วมประชุมฯ
  7. อื่นๆ
  8. โครงการพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการและผู้ขอรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนฯ ประจำปีงบประมาณ 2566
  9. ค่าจัดซื้อเครื่องปริ้นเอกสาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 29
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 29

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะโละกาโปร์ สามารถที่จะดำเนินการบริหารจัดการกองทุนฯ ที่ดี ตลอดจนการพิจารณาโครงการต่างๆ ได้ตามกำหนดเวลา จนมีผลทำให้เกิดการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน
  2. มีการประชุมคณะกรรมการฯ เพื่อพิจารณาและติดตามงานอย่างน้อย 4 ครั้ง เพื่อโครงการที่เสนอได้รับการพิจารณาอย่างน้อย 80 เปอร์เซ็นต์
  3. มีการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานของกองทุนร่วมกับทีมพี่เลี้ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าอาหารและเครื่องดื่มของกรรมการฯ

วันที่ 3 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าอาหารและเครื่องดื่มของกรรมการฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้อยละ 80 มีการเบิกจ่ายค่าอาหารและเครื่องดื่มของกรรมการฯ ตามเป้าหมายที่วางไว้

 

29 0

2. ค่าตอบแทนคณะกรรมการกองทุน สปสช.

วันที่ 3 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าตอบแทนคณะกรรมการกองทุน สปสช.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้อยละ 80 มีการเบิกจ่ายค่าตอบแทนคณะกรรมการกองทุน สปสช.

 

19 0

3. ค่าตอบแทนคณะกรรมการกองทุน LTC

วันที่ 3 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าตอบแทนคณะกรรมการกองทุน LTC

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้อยละ 80 มีการเบิกจ่ายค่าตอบแทนคณะกรรมการกองทุน LTC

 

10 0

4. ค่าเดินทางไปราชการของคณะกรรมการกองทุน สปสช. และ กองทุน LTC

วันที่ 3 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าเดินทางไปราชการของคณะกรรมการกองทุน สปสช. และ กองทุน LTC

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้อยละ 80 มีการค่าเดินทางไปราชการของคณะกรรมการกองทุน สปสช. และ กองทุน LTC

 

29 0

5. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มของกรรมการกองทุน LTC และผู้เข้าร่วมประชุมฯ

วันที่ 3 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มของกรรมการกองทุน LTC และผู้เข้าร่วมประชุมฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้อยละ 70 มีการเบิกจ่ายค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มของกรรมการกองทุน LTC และผู้เข้าร่วมประชุมฯ

 

14 0

6. โครงการพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการและผู้ขอรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนฯ ประจำปีงบประมาณ 2566

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ขั้นเตรียมการ - จัดทำโครงการเพื่อขอนุมัติดำเนินงานโครงการฯ - กำหนดรูปแบบการดำเนินการ สื่อ อุปกรณ์ วิทยากร ที่จำเป็นต้องใช้ในการดำเนินงาน ความรู้และทักษะที่เกี่ยวข้อง 2.ขั้นดำเนินการ - จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ในเรื่อง ดังนี้ การแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน/การดำรงตำแหน่งการสรรหาคณะกรรมการ บทบาทอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุน การแต่งตั้งคณะกรรมการ อนุ LTC และบทบาทอำนาจหน้าที่ การรับเงิน การเก็บรักษาเงิน การจ่ายเงิน การจัดทำบัญชี การรายงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ขั้นตอนการเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ของหน่วยงานกลุ่มองค์กรต่างๆ ในพื้นที่ ขั้นตอนการเสนอขอรับการสนับสนุนและงบประมาณ การเบิกจ่าย การรับเงินจากกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ การปฏิบัติเมื่อหน่วยงานต่างๆ ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ระเบียบกฎหมายต่างๆ ที่เชื่อมโยงและนำไปใช้ในการปฏิบัติงานกองทุนฯ  และ ขั้นตอนตัวอย่างโครงการของหน่วยบริการ ในการขอรับสนับสนุนงบประมาณเพื่อนำไปใช้ในการบริการด้านสาธารณสุข เป็นต้น 3.ขั้นสรุปผลการดำเนินงาน - สรุปผลการดำเนินงานจากแบบประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้าอบรมฯ มีความรู้ ความเข้าใจในการบริหารงานและปฏิบัติงานตามระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพที่ถูกต้อง ชัดเจน
  2. ผู้เข้าอบรมฯ ทราบกระบวนการดำเนินงาน ขั้นตอนการบริหารงานกองทุนและการกำหนดแนวทางการจัดระบบการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ (สปสช.) การปฏิบัติงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เป็นต้น

 

40 0

7. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มของกรรมการกองทุน สปสช. และผู้เข้าร่วมประชุมฯ

วันที่ 22 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มของกรรมการกองทุน สปสช. และผู้เข้าร่วมประชุมฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้อยละ 80 มีการเบิกจ่ายค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มของกรรมการกองทุน สปสช. และผู้เข้าร่วมประชุมฯ

 

29 0

8. ค่าจัดซื้อเครื่องปริ้นเอกสาร

วันที่ 5 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าจัดซื้อเครื่องปริ้นเอกสาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการจัดซื้อเครื่องปริ้นเอกสาร

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ จำนวน 29 คน
50.00 100.00 100.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี
ตัวชี้วัด : จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)
60.00 100.00 100.00

 

3 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา
ตัวชี้วัด : ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในกำหนด เพิ่มขึ้น
60.00 100.00 100.00

 

4 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน)
50.00 80.00 80.00

 

5 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)
50.00 100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 58 58
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 29 29
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 29 29

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน (2) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี (3) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา (4) เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล (5) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าตอบแทนคณะกรรมการกองทุน สปสช. (2) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มของกรรมการกองทุน สปสช. และผู้เข้าร่วมประชุมฯ (3) ค่าอาหารและเครื่องดื่มของกรรมการฯ (4) ค่าตอบแทนคณะกรรมการกองทุน LTC (5) ค่าเดินทางไปราชการของคณะกรรมการกองทุน สปสช. และ กองทุน LTC (6) ค่าวัสดุอื่นๆ (7) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มของกรรมการกองทุน LTC และผู้เข้าร่วมประชุมฯ (8) โครงการพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการและผู้ขอรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนฯ ประจำปีงบประมาณ 2566 (9) ค่าจัดซื้อเครื่องปริ้นเอกสาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) เห็นควรดำเนินการโครงการดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผลการดำเนินการเกิดผลสัมฤทธิ์อย่างเป็นรูปธรรม ต่อไป

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะโละกาโปร์ ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-50110-04-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวศิรดา ศรีของไทย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด