กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน


“ โครงการส่งเสริมการจัดทำถังขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือน ปี 2566 ”

ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวปาริชาติ สังข์ขวัญ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการจัดทำถังขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือน ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4147-01-01 เลขที่ข้อตกลง 66-L4147-01-01

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการจัดทำถังขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือน ปี 2566 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการจัดทำถังขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือน ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการจัดทำถังขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือน ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4147-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 65,175.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาขยะมูลฝอย เป็นปัญหาสำคัญที่อยู่คู่กับสังคมไทยมายาวนานและมีแนวโน้มทวีความรุนแรง เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะมูลฝอยทุกปี ตามอัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร การขยายตัวทางเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการอุปโภคบริโภคของประชาชน แต่ปริมาณขยะมูลฝอยที่ได้รับการจัดการอย่างถูกต้องเพิ่มขึ้นในอัตราที่ต่ำ องค์การบริหารส่วนตำบลบาโงยซิแนก็กำลังประสบปัญหาในด้านการบริหารจัดการขยะเช่นเดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นปริมาณขยะที่เพิ่มมากขึ้นตามจำนวนประชากร ปัญหาการทิ้งขยะไม่เป็นที่ และปัญหาขยะตกค้างต่างๆ ดังนั้น แนวทางแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยในระยะยาวจะต้องสนับสนุนและขยายผลให้ประชาชนลดปริมาณการเกิดขยะมูลฝอยจากครัวเรือนโดยหลักการ 3 Rs ได้แก่ ๑) Reduce ๒) Reuse ๓) Recycle รวมทั้งสร้างแรงจูงใจด้านการเพิ่มรายได้ให้กับประชาชนในการร่วมกันคัดแยกขยะมูลฝอยอีกด้วย
ตำบลบาโงยซิแนเป็นตำบลขนาดเล็ก มีจำนวน 6 หมู่บ้าน มีพื้นที่ 20 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 8,337 คน และจำนวน 1,463 ครัวเรือน จากการเพิ่มขึ้นของประชากร ทั้งประชากรในพื้นที่และประชากรแฝงที่เพิ่มขึ้น พร้อมกับความเจริญเติบโตของเมืองตลอดจนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการอุปโภคบริโภคของประชาชน ขยะมูลฝอยทำให้เกิดมลพิษในอากาศ ขยะมูลฝอยเกิดจากการหมักโดยจุลินทรีย์ในกองขยะจะทำให้เกิดก๊าซต่าง ๆ ที่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม หากไม่มีการกำจัดก๊าซเหล่านี้อย่าง นอกจากนี้ยังมีฝุ่นละอองจากกองขยะ ก่อให้เกิดปัญหากับระบบทางเดินหายใจ โรคผิวหนัง แก่ประชาชนที่อยู่ในบริเวณ ใกล้เคียง แม้ว่าจะมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดการปัญหาขยะมูลฝอยดังกล่าว รวมถึงมีการกำหนดรูปแบบหรือวิธีการจัดการไว้แล้วแล้ว แต่ยังไม่เพียงพอหรือไม่สามารถตอบสนองต่อปริมาณขยะมูลฝอยทีเพิ่มมากขึ้นและยังคงก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ อาทิ เช่น ปัญหาขยะตกค้าง ก่อให้เกิดความสกปรกในพื้นที่ ประกอบกับประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการขยะที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่หรือสร้างมูลค่าหรือสร้างรายได้ ซึ่งจะเป็นผลให้สามารถลดปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นได้
สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลบาโงยซิแน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการจัดทำถังขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือน ปี 2566 เพื่อสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน โดยการนำแนวคิดเรื่องการจัดทำถังขยะอินทรีย์หรือถังขยะเปียก สำหรับใช้ในการคัดแยกและจัดการขยะอินทรีย์หรือขยะเปียก ซึ่งเป็นการลดขยะต้นทางด้วยการจัดทำถังขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือนจะช่วยลดปัญหากลิ่นขยะเน่าเหม็นอันเป็นที่ไม่พึงประสงค์ของผู้คน อีกทั้งมีผลพลอยได้คือ ได้ปุ๋ยหมักไว้บำรุงดิน ปลูกพืชผัก ผลไม้ให้งอกงามและช่วยลดภาวะโลกร้อนด้วย รวมถึงการปลูกฝังจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย เปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและแก้ไขปัญหาขยะในชุมชนต่อไปโครงการอบรมให้ความรู้การจัดทำถังขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดการขยะอย่างถูกต้อง ถูกสุขลักษณะ
  2. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคที่เกิดจากขยะในครัวเรือน
  3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมทุกครัวเรือนจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะและการจัดการขยะเปียกในครัวเรือน
  2. การรณรงค์และประชาสัมพันธ์การจัดทำถังขยะเปียก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ประชาชนทั่วไปในพื้นที่ตำบลบาโงยซิแน 8,337

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดการขยะอย่างถูกต้อง ถูกสุขลักษณะ
  2. ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคที่เกิดจากขยะในครัวเรือน
  3. ผู้เข้าร่วมอบรมทุกครัวเรือนจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดการขยะอย่างถูกต้อง ถูกสุขลักษณะ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดการขยะอย่างถูกต้อง ถูกสุขลักษณะ ร้อยละ 80
80.00 0.00

 

2 เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคที่เกิดจากขยะในครัวเรือน
ตัวชี้วัด : การแพร่ระบาดของโรคที่เกิดจากขยะในครัวเรือนลดลง ร้อยละ 80
80.00 0.00

 

3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมทุกครัวเรือนจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อน
ตัวชี้วัด : เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมทุกครัวเรือนจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อน ร้อยละ 80
80.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 8337
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ประชาชนทั่วไปในพื้นที่ตำบลบาโงยซิแน 8,337

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดการขยะอย่างถูกต้อง ถูกสุขลักษณะ (2) เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคที่เกิดจากขยะในครัวเรือน (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมทุกครัวเรือนจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะและการจัดการขยะเปียกในครัวเรือน (2) การรณรงค์และประชาสัมพันธ์การจัดทำถังขยะเปียก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการจัดทำถังขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือน ปี 2566 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4147-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวปาริชาติ สังข์ขวัญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด