กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ขยับขาด้วยการเล่นฟุตบอลของเยาวชน ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายยูโสบ ยะโกบ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ขยับขาด้วยการเล่นฟุตบอลของเยาวชน

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5307-2-02 เลขที่ข้อตกลง 16/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ขยับขาด้วยการเล่นฟุตบอลของเยาวชน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ขยับขาด้วยการเล่นฟุตบอลของเยาวชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ขยับขาด้วยการเล่นฟุตบอลของเยาวชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5307-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,540.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยสถานการณ์ปัจจุบัน เยาวชน ในช่วงวัยกำลังเจริญเติบโต เยาวชนในพื้นที่ไม่มีช่องทางในการออกกำลังกาย เด็กมีปัญหาติดเกมส์ และจากการสำรวจของสถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ ในปี พ.ศ. 2556 พบว่า มีเด็กติดเกมส์มากถึง 2.5 ล้านคน จากจำนวนเด็ก 18 ล้านคนทั่วประเทศ และในปีงบประมาณ 2560 พบว่าปัญหาพฤติกรรมเสพติดเกมส่วนใหญ่ เป็นปัญหาสุขภาพจิตที่พบในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นที่มีอายุระหว่าง 6-18 ปี ซึ่งมีความสัมพันธ์กับชนิดของเกม อาทิ เกมประเภท First Personal Shooting, MOBA และ SPORTS game competition เป็นหลัก โดยเฉลี่ยเด็กและวัยรุ่นใช้เวลาเล่นเกมนาน 5 ชั่วโมงต่อวัน และเล่นเกมแข่งขันต่อสู้ออนไลน์ 1-4 เกมสลับกันไป กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข จึงได้ประกาศเจตนารมณ์ การคุ้มครองเยาวชน ป้องกันและแก้ไขปัญหาติดเกมของเยาวชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มติดเกม ที่ปัจจุบันมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นและจะเป็นปัญหาสำคัญในอนาคต จึงได้มีการร่วมกำหนดประเด็นการรณรงค์ให้สอดคล้องกับองค์การอนามัยโลก คือ 'เครียดได้ คลายเป็น เล่นเกมแต่พอดี' และได้มอบหมายให้ดำเนินการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานดำเนินการคุ้มครองเยาวชน ป้องกันและแก้ไขปัญหาติดเกมเพื่อให้เกิดการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพบรรลุตามวัตถุประสงค์โดยได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายต่างๆ ที่ร่วมมือกันในการดูแลเด็กและเยาวชนไม่ออกกำลังกาย เกิดการสุ่มเสี่ยงในการติดยาเสพติด เด็กมีภาวะอ้วนเติบโตไม่สมวัย
กลุ่มบ้านควนอะคาเดมี่ จึงมีแนวคิดที่จะดำเนินการส่งเสริมกิจกรรมทางกายขยับแข่งขยับขาด้วยการส่งเสริมการเล่นกีฬาฟุตบอล ให้แก่เยาวชนในพื้นที่ตำบลบ้านควน ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวจัดขึ้นเพื่อส่งเสริมให้เยาวชนได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เสริมสร้างสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง ลดภาวะอ้วน เติบโตอย่างสมวัยของเยาวชนในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ขยับขาด้วยการละเล่นฟุตบอลของเยาวชนตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2566

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนในพื้นที่มีความรู้และทักษะการออกกำลังกายด้วยกิจกรรมทางกาย เติบโตสมวัย
  2. เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ชุมชนน่าอยู่ ครอบครัวอบอุ่น ลดภาวะโรคอ้วนในเยาวชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้ เรื่อง ทักษะการเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ
  2. จัดกิจกรรมส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ด้วยการฝึกทักษะการเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เยาวชนในพื้นที่มีความรู้และทักษะการออกกำลังกายด้วยกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น
2.เยาวชนในพื้นที่ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ชุมชนน่าอยู่ ครอบครัวอบอุ่นมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้ เรื่อง ทักษะการเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ

วันที่ 15 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้ เรื่องทักษะการเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ
คัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ โดย การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง หาค่าดัชนีมวลกาย
จัดอบรมให้ความรู้ ทักษะการเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ
ประเมินผลด้านร่างกาย
การเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มกับผู้ปกครอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีเด็ก เยาวชนเข้าร่วม กิจกรรม จำนวน 40 คน ตลอดระยะเวลาที่มีการจัดกิจกรรม ทำให้เด็ก เยาวชน ได้รับความรู้ สร้างความเข้าใจในเรื่องกีฬา ประวัติความเป็นมา คุณค่าและประโยชน์จากการเล่นกีฬา และสามารถสร้างเสริมสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์ แข็งแรง

 

0 0

2. จัดกิจกรรมส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ด้วยการฝึกทักษะการเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ

วันที่ 2 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

....

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

....

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนในพื้นที่มีความรู้และทักษะการออกกำลังกายด้วยกิจกรรมทางกาย เติบโตสมวัย
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถพัฒนาทักษะ และเพิ่มความรู้ด้านการออกกำลังกายด้วยกิจกรรมทางกาย ร้อยละ 80
50.00 80.00 80.00

 

2 เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ชุมชนน่าอยู่ ครอบครัวอบอุ่น ลดภาวะโรคอ้วนในเยาวชน
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ร้อยละ 80
50.00 80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40 40
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนในพื้นที่มีความรู้และทักษะการออกกำลังกายด้วยกิจกรรมทางกาย เติบโตสมวัย (2) เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ชุมชนน่าอยู่ ครอบครัวอบอุ่น ลดภาวะโรคอ้วนในเยาวชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ เรื่อง ทักษะการเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ (2) จัดกิจกรรมส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ด้วยการฝึกทักษะการเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ขยับขาด้วยการเล่นฟุตบอลของเยาวชน จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5307-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายยูโสบ ยะโกบ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด