กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด


“ โครงการหนูน้อยชนะโควิด ”

โรงเรียนวัดตะโหมด (หมุนคณานุสรณ์)

หัวหน้าโครงการ
โรวเรียนวัดตะโหมด (หมุนคณานุสรณ์)

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยชนะโควิด

ที่อยู่ โรงเรียนวัดตะโหมด (หมุนคณานุสรณ์) จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L7577-2-2 เลขที่ข้อตกลง 8/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยชนะโควิด จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนวัดตะโหมด (หมุนคณานุสรณ์)

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยชนะโควิด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยชนะโควิด " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนวัดตะโหมด (หมุนคณานุสรณ์) รหัสโครงการ 66-L7577-2-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 กุมภาพันธ์ 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 124 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์โควิด-19 ในเด็กไทย อายุ 0-18 ปี ตั้งแต่มีการระบาดระลอกใหม่ 1 เมษายน -สิงหาคม 2565 สัปดาห์ที่ 15- 33 เด็กติดเชื้อสะสม 91,906 ราย (ข้อมูลจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข) จะเห็นได้ว่าการระบาดของโรคติดเชื้อโคโรนา 2019 ตั้งแต่ปลายเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 จนถึงปัจจุบัน ทำให้มีผู้ติดเชื้อยืนยันทั่วโลก 205,579,907 ราย และมีผู้เสียชีวิต 4,337,828 ราย ตามข้อมูลวันที่ 12 สิงหาคม 2564 การระบาดระลอกที่ 3 ซึ่งมีความรุนแรงและรวดเร็วจากสายพันธุ์เดลต้าที่มีต้นกำเนิดจากประเทศอินเดียกำลังกระจายไปทั่วโลกอย่างรวดเร็วในประเทศการระบาดระลอกที่ 3 ตั้งแต่ต้นเดือนเมษายน 2564จนถึง 12 สิงหาคม 2564 มีความรุนแรงทำให้มีผู้ติดเชื้อสะสมถึง810,908 ราย และมีผู้เสียชีวิตสะสม 6,849 ราย จากการระบาดที่เกิดขึ้นในชุมชนและครอบครัวทำให้จำนวนผู้ติดเชื้อโควิด-19 สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว
โรคติดเชื้อโคโรนา 2019 มีการแพร่ระบาดของโรคมาอย่างต่อเนื่อง โดยที่จำนวนผู้ติดเชื้อสะสมและผู้ติดเชื้อรายใหม่ซึ่งเป็นการติดเชื้อในประเทศได้เพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมากอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศอีกทั้งสถานการณ์การแพร่ระบาดในจังหวัดพัทลุง ก็ยังไม่สงบและมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ และการระบาดระลอกใหม่นี้ เชื้อโรคมีความสามารถในการแพร่เชื้อเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงมาก กระจายออกไปในพื้นที่ต่างๆ อย่างรวดเร็ว สถานการณ์ดังกล่าวอาจจะกระทบต่อสุขภาพของนักเรียน ดังนั้น โรงเรียนวัดตะโหมด (หมุนคณานุสรณ์) จึงได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว และเห็นว่าทุกภาคส่วนของสังคมควรมีบทบาทในการแก้ปัญหาร่วมกัน การปล่อยให้เป็นหน้าที่สาธารณสุข หรือหน่วยงานภาครัฐรับผิดชอบเพียงฝ่ายเดียวไม่เพียงพอ และจะทำให้ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโคโรนา 2019 รุนแรงขึ้นเรื่อยๆ จึงได้ถือโอกาสจัดโครงการหนูน้อยชนะโควิดขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริมให้เด็กโรงเรียนวัดตะโหมด (หมุนคณานุสรณ์) รุู้เท่าทันภัยของโรคติดเชื้อโคโรนา 2019 และรู้ถึงสถานการณ์สามารถการป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อของโรคโคโรนา 2019 โดยการปกป้องเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายและสร้างภูมิคุ้มกันโดยการดื่มน้ำสมุนไพร เป็นการสนองต่อนโยบายรัฐบาลในการนำสังคมไทยไปสู่ป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้อย่างเข้มแข็ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนได้รับรู้และรับทราบถึงปัญหา และพิษภัยของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
  2. เพื่อสร้างผู้นำนักเรียนในการต่อต้านและป้อง กันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานศึกษา
  3. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิด สร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายและจิตใจให้กับ นักเรียนไม่ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
  4. เพื่อสนับสนุนโยบายของรัฐบาลในการนำ สังคมไทยไปสู่ป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 ได้อย่างเป็นรูปธรรม
  5. นักเรียนสามารถนำสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่น มาใช้ในการป้องกันตัวเองจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1จัดทำโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์สาธิตแนะนำสาธิต การใช้อุปกรณ์มาใช้ป้องกัน การแพร่ระบาด โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และป้ายสาธิต การทำน้ำสมุนไพรป้องกันโควิด 2.1ให้ความรู้เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 2.2 กิจกรรมนำไปสู่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 124
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 นักเรียนและผู้ปกครองรับรู้และทราบถึงโทษ ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 2 นักเรียนและผู้ปกครองสามารถเป็นแกนนำใน การสาธิตการใช้อุปกรณ์ป้องกันการแพร่ระบาด โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สถานศึกษาและ ชุมชน โดยมีการดื่มน้ำสมุนไพรชนิดต่างๆ เพื่อ ป้องกันตนเองจากการติดเชื้อ 3 นักเรียนและผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้ มาป้องกันตนเองและคนรอบข้างจากโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 และปฏิบัติตนเป็นแบบ อย่างที่ดีด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม 4 ได้ร่วมสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลในการนำ สังคมไทยไปสู่ป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 ได้อย่างเป็นรูปธรรม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนได้รับรู้และรับทราบถึงปัญหา และพิษภัยของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
0.00

 

2 เพื่อสร้างผู้นำนักเรียนในการต่อต้านและป้อง กันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานศึกษา
ตัวชี้วัด : มีแกนนำนักเรียนในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อในโรงเรียน
0.00

 

3 เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิด สร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายและจิตใจให้กับ นักเรียนไม่ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ตัวชี้วัด : นัก้รียนมีภูมิต้านทานและไม่ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
0.00

 

4 เพื่อสนับสนุนโยบายของรัฐบาลในการนำ สังคมไทยไปสู่ป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 ได้อย่างเป็นรูปธรรม
ตัวชี้วัด : สังคมปลอดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019
0.00

 

5 นักเรียนสามารถนำสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่น มาใช้ในการป้องกันตัวเองจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ตัวชี้วัด : สามารถนำสมุนไพรมาประยุกต์ใช้ในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา2019
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 124
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 124 114
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนได้รับรู้และรับทราบถึงปัญหา และพิษภัยของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (2) เพื่อสร้างผู้นำนักเรียนในการต่อต้านและป้อง กันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานศึกษา (3) เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิด สร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายและจิตใจให้กับ นักเรียนไม่ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (4) เพื่อสนับสนุนโยบายของรัฐบาลในการนำ สังคมไทยไปสู่ป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 ได้อย่างเป็นรูปธรรม (5) นักเรียนสามารถนำสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่น มาใช้ในการป้องกันตัวเองจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1จัดทำโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์สาธิตแนะนำสาธิต การใช้อุปกรณ์มาใช้ป้องกัน การแพร่ระบาด โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และป้ายสาธิต การทำน้ำสมุนไพรป้องกันโควิด 2.1ให้ความรู้เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 2.2 กิจกรรมนำไปสู่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูน้อยชนะโควิด จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L7577-2-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรวเรียนวัดตะโหมด (หมุนคณานุสรณ์) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด