กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันความเครียดและภาวะซึมเศร้า ปี 2566 ”
ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางนรารัตน์ สือเเม




ชื่อโครงการ โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันความเครียดและภาวะซึมเศร้า ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2490-01-03 เลขที่ข้อตกลง 003/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันความเครียดและภาวะซึมเศร้า ปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันความเครียดและภาวะซึมเศร้า ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันความเครียดและภาวะซึมเศร้า ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2490-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 พฤศจิกายน 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคซึมเศร้าหมายถึงภาวะการเจ็บป่วยทางอารมณ์ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากการสูญเสียผิดหวังจากการถูกทอดทิ้งและอาจสามารถเกิดขึ้นเองจากสังคมรอบข้างที่เลวร้าย เช่น เจ็บป่วยเรื้อรัง ความสัมพันธ์กับคนรอบข้างหรือความเปลี่ยนแปลงในชีวิตที่เข้ามาอย่างกะทันหัน ผู้ป่วยโรคซึมเศร้ามักจะมีอาการหม่นหมอง หงุดหงิดง่าย ขาดความสนใจต่อสิ่งรอบข้าง น้ำหนักลดลงหรือมากขึ้นอย่างรวดเร็ว อ่อนเพลีย เมื่อยล้า ไม่มีเรี่ยวแรง เป็นต้น
จากผลการวิจัย พบว่าเพศหญิงมีอัตราการป่วยเป็นโรคซึมเศร้าได้มากกว่าเพศชาย แต่ทว่าอัตราการฆ่าตัวตายในเพศชายมีจำนวนมากกว่า ซึ่งเมื่อเพศชายเกิดอาการเครียดหรือซึมเศร้าขั้นรุนแรง พวกเขาจะมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคหัวใจมากกว่าเพศหญิงอีกด้วย ช่วงต้นปี2565 ที่ผ่านมา คนไทยพยายามฆ่าตัวตายชั่วโมงละ 6 คน หรือทั้งปีมากกว่า 53,000 คนและเสียชีวิตราว 4,000 คน ถือเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆของไทยและจากข้อมูลของศูนย์โรคซึมเศร้าไทย กรมสุขภาพจิต ยังระบุว่า คนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าถึง 1.5 ล้านคน โดยผู้ป่วยจำนวน 100 คน สามารถเข้าถึงการรักษาเพียง 28 คนเท่านั้น ทำให้คนไทยกว่า 70 เปอร์เซ็นต์เสียชีวิตก่อนวัยอันควร ผู้ที่มีเกณฑ์เป็นโรคซึมเศร้าส่วนใหญ่มักเริ่มมีอาการชัดเจนในช่วงอายุ 25 ปี หลังจากนั้นอาจเกิดเป็นโรคเรื้อรังทางจิตใจในระยะยาวได้ ฉะนั้นผู้ป่วยโรคซึมเศร้าควรเข้ารับการรักษาและติดตามดูอาการอย่างใกล้ชิด สำหรับวิธีการรักษาโรคซึมเศร้ามีหลายวิธี ทั้งวิธีรักษาทางจิตใจ หรือว่าการใช้ยารักษาเพื่อปรับสมดุลเคมีภายในสมอง อย่างไรก็ตามวิธีรักษาที่ดีที่สุดคือ การให้ผู้ป่วยปรับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และการรักษาแบบปรับความคิดและพฤติกรรมของตนเอง
กองสวัสดิการสังคม องค์การบริหารส่วนตำบลกะลุวอ ได้เล็งเห็นถึงปัญหาของความเครียดและภาวะซึมเศร้า จึงได้จัดทำโครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันความเครียดและภาวะซึมเศร้า เพื่อให้ประชาชนตำบลกะลุวอ ผู้เข้าร่วมโครงการ กลุ่มเสี่ยงได้ตระหนักและเข้าใจถึงปัญหาทางด้านสุขภาพจิต มีสุขภาพจิตดี และมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ กลุ่มเสี่ยง สามารถคัดกรองประเมินภาวะด้านสุขภาพจิตของตนเอง
  2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ กลุ่มเสี่ยง ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันความเครียดและภาวะซึมเศร้า
  3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง ที่มีปัญหาสุขภาพจิต ได้รับการส่งต่อและได้รับการรักษาอย่างถูกวิธี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมคัดกรองความเครียดและภาวะซึมเศร้า
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความเครียดและภาวะซึมเศร้า
  3. กิจกรรมรณรงค์เกี่ยวกับความเครียดและภาวะซึมเศร้า

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมโครงการ กลุ่มเสี่ยง สามารถรับรู้ถึงการแปลผลการประเมินความเครียดและภาวะซึมเศร้าของตนเองได้ 2.ผู้เข้าร่วมโครงการ กลุ่มเสี่ยง มีความรู้ความเข้าใจ และสามารถแยกแยะความแตกต่างระหว่างความเครียดและภาวะซึมเศร้าได้ 3.กลุ่มเสี่ยง ที่มีปัญหาสุขภาพจิต ได้รับการส่งต่อและได้รับการรักษาอย่างถูกวิธี 4.ผู้เข้าร่วมโครงการ กลุ่มเสี่ยง มีสุขภาพจิตที่ดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมคัดกรองความเครียดและภาวะซึมเศร้า

วันที่ 16 สิงหาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมคัดกรองความเครียดและภาวะซึมเศร้า ณ องค์การบริหารส่วนตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส  จังหวัดนราธิวาส ให้ผู้เข้าร่วมโครงการจักทำเเบบประเมินตนเอง โดยประเมินตามแบบประเมิน ดังนี้ 1. แบบประเมินความเครียด 5 ข้อ (ST-5) 2. แบบทดสอบภาวะซึมเศร้า (Patient Health Questionnaire: PHQ-9)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมโครงการที่ได้รับการประเมิน ทั้งหมด 50 คน

 

50 0

2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความเครียดและภาวะซึมเศร้า

วันที่ 16 สิงหาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความเครียดและภาวะซึมเศร้า ณ องค์การบริหารส่วนตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส  จังหวัดนราธิวาส

08.00 น. – 09.00 น. ลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการ 09.00 น. – 10.30 น. บรรยาย สถานการณ์ความเครียดและปัญหาการซึมเศร้าในปัจจุบัน 10.31 น. – 10.45 น. รับประทานอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 10.46 น. – 12.00 น. สาเหตุและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดและภาวะซึมเศร้า 12.00 น. – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.01 น. – 14.00 น. กิจกรรมให้คงามรู้ ความเเตกต่างระหว่างความเครียดเเละภาวะซึมเศร้า 14.01 น. – 14.15 น. รับประทานอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 14.16 น. – 16.00 น. บรรยายการป้องกันเเละช่วยเหลือผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า 16.00 น. – 16.30 น. สรุปโครงการ - ปิดการฝึกอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ในการเเยกเเยะความเครียดเเละภาวะซึมเศร้า สามารถจัดการกับปัญหาความเครียดที่ส่งผลทำให้เกิดภาวะซึมเศร้า

 

0 0

3. กิจกรรมรณรงค์เกี่ยวกับความเครียดและภาวะซึมเศร้า

วันที่ 16 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมรณรงค์เกี่ยวกับความเครียดและภาวะซึมเศร้า ให้เเก่บุคคลในครอบครัวเเละคนรอบข้าง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำไปเผยเเพร่เเละประชาสัมพันธ์ให้เเก่คนรอบข้าง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ในการดำเนินโครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันความเครียดและภาวะซึมเศร้า ปี 2566 ในวันที่ 16 สิงหาคม 2566 มีรูปแบบการดำเนินการ 3 กิจกรรม ได้แก่
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมคัดกรองความเครียดและภาวะซึมเศร้า กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความเครียดและภาวะซึมเศร้า กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมรณรงค์เกี่ยวกับความเครียดและภาวะซึมเศร้า ผลการดำเนินงานโครงการ ดังนี้ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ กลุ่มเสี่ยง สามารถรับรู้ถึงการแปลผลการประเมินความเครียดและภาวะซึมเศร้าของตนเองได้ 2. ผู้เข้าร่วมโครงการ กลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถแยกแยะความแตกต่างระหว่างความเครียดและภาวะซึมเศร้าได้ 3. กลุ่มเสี่ยง ที่มีปัญหาสุขภาพจิต ได้รับการส่งต่อและได้รับการรักษาอย่างถูกวิธี 4. ผู้เข้าร่วมโครงการ กลุ่มเสี่ยง มีสุขภาพจิตที่ดี

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ กลุ่มเสี่ยง สามารถคัดกรองประเมินภาวะด้านสุขภาพจิตของตนเอง
ตัวชี้วัด : สามารถคัดกรองประเมินภาวะด้านสุขภาพจิตและแปลผลได้อย่างถูกต้อง
50.00 50.00 50.00

 

2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ กลุ่มเสี่ยง ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันความเครียดและภาวะซึมเศร้า
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ กลุ่มเสี่ยง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันความเครียดและภาวะซึมเศร้าเพิ่มมากขึ้น
50.00 50.00 50.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง ที่มีปัญหาสุขภาพจิต ได้รับการส่งต่อและได้รับการรักษาอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงที่ปัญหาสุขภาพจิตได้รับการส่งต่อและได้รับการรักษาอย่างถูกวิธี
50.00 50.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ กลุ่มเสี่ยง สามารถคัดกรองประเมินภาวะด้านสุขภาพจิตของตนเอง (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ กลุ่มเสี่ยง ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันความเครียดและภาวะซึมเศร้า (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง ที่มีปัญหาสุขภาพจิต ได้รับการส่งต่อและได้รับการรักษาอย่างถูกวิธี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองความเครียดและภาวะซึมเศร้า (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความเครียดและภาวะซึมเศร้า (3) กิจกรรมรณรงค์เกี่ยวกับความเครียดและภาวะซึมเศร้า

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันความเครียดและภาวะซึมเศร้า ปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2490-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนรารัตน์ สือเเม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด