กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการร่วมพลัง ชาวท่าสาปเดินวิ่งเพื่อสุขภาพ ”
ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางซาวียะห์ มูซา




ชื่อโครงการ โครงการร่วมพลัง ชาวท่าสาปเดินวิ่งเพื่อสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 พฤศจิกายน 2565 ถึง 29 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร่วมพลัง ชาวท่าสาปเดินวิ่งเพื่อสุขภาพ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร่วมพลัง ชาวท่าสาปเดินวิ่งเพื่อสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร่วมพลัง ชาวท่าสาปเดินวิ่งเพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 พฤศจิกายน 2565 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,540.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การมีสุขภาพที่ดี เป็นความปรารถนาของคนทุกคน เพราะการมีสุขภาพที่ดีเป็นปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดความสุข และส่งเสริมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ในที่สุด เพราะคำว่า สุขภาพ มีความหมาย คือ สภาวะแห่งความ สมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย ด้านจิตใจ และการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมด้วยดี ไม่ใช่เพียงแต่ความปราศจากโรค หรือทุพพลภาพเท่านั้น (องค์การอนามัยโลก , 2491) จากคำจำกัดความนี้แสดงให้เห็นว่า ภาวะของความไม่มี โรคหรือไม่บกพร่องยังไม่ถือว่ามีสุขภาพ แต่สุขภาพมีความหมายเชิงบวกที่เน้นความเป็นอยู่ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคม นั่นคือ ต้องมีสุขภาพกาย สุขภาพจิต และสุขภาพทางสังคมครบทุกด้าน ซึ่งการสร้างเสริมสุขภาพประกอบด้วยแนวทางหลายแนวทางด้วยกัน และที่ได้รับการยอมรับในแนวทางปฏิบัติตามหลัก วิชาการคือ การมีสุขภาพที่ดี ตามหลัก 6 อ.สร้างสุขภาพคนไทย ซึ่งประกอบด้วย  อ.ที่ ๑ อาหาร อ.ที่ ๒ ออกกำลังกาย อ.ที่ ๓ อารมณ์ อ.ที่ ๔ อนามัยสิ่งแวดล้อม อ.ที่ ๕ อโรคยา และ อ.ที่ ๖ อบายมุข ซึ่งจะต้องปฏิบัติควบคู่กันไปอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะการออกกำลังกาย ที่ได้รับความนิยมกันอย่างแพร่หลายในการสร้างเสริมสุขภาพ ซึ่งการออกกำลังกายก็จะมีหลากหลายรูปแบบและวิธีการแตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับความถนัด ความสนใจ และความพร้อมตลอดจนประโยชน์ที่ได้รับของแต่ละบุคคลอีกด้วย และจากสภาวการณ์ปัจจุบัน พบว่าประชาชนในสังคมส่วนใหญ่จะประสบกับปัญหาทางด้านสุขภาพทั้งทาง ด้านร่างกายและจิตใจ อันเนื่องมาจากปัญหาสังคม การเมือง เศรษฐกิจ การว่างงาน ยาเสพติด โรคระบาด การเปลี่ยนแปลงทาง ภูมิศาสตร์ ภัยธรรมชาติ หรือพฤติกรรมการใช้ชีวิตส่วนตัว เช่น นิยมบริโภคอาหารจานด่วน ของขบเคี้ยว หรือ ชอบอยู่ในสังคมของโลกออนไลน์ เป็นต้น ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งเสริมให้เกิดความเครียดและเกิดโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ ขึ้นมากมาย หรือในวัยผู้สูงอายุก็จะเกิดภาวะซึมเศร้าได้จากประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทั้งหมดจำนวน 1,560 คน ได้รับการประเมินภาวะรอบเอว จำนวน 1,128 คน คิดเป็นร้อยละ 72.30 มี ภาวะอ้วนและอ้วนอันตราย จำนวน 264 คน คิดเป็นร้อยละ 23.40 ดังนั้น การออกกำลังกาย จึงเป็นกิจกรรมหนึ่งที่ช่วยส่งเสริมการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมลดภาวะอ้วนลงพุงและช่วยไม่ให้เกิดโรคต่างๆในอนาคตเพิ่มขึ้นได้ และสามารถผ่อนคลายความตึงเครียดได้ในทุกเพศทุกวัย ซึ่งกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ซึ่งเป็นแกนนำสำคัญที่ปฏิบัติหน้าที่ในการส่งเสริมสุขภาพประชาชนในหมู่บ้าน ร่วมกับกองทุนสร้างหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าสาป ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวนี้ จึงได้จัดทำโครงการร่วมพลัง ชาวท่าสาปเดินวิ่งเพื่อสุขภาพ ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนโดยการออกกำลังกาย และ จัดกิจกรรมรวมพลังสร้างสุขภาพ เป็นการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมและกระตุ้นให้ประชาชนได้ตระหนักถึงความสำคัญในการออกกำลังกายที่จะช่วยเสริมสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน และในการดำเนินกิจกรรมตามโครงการดังกล่าวนี้ ยังเป็นการสนับสนุนภารกิจของกองทุนสุขภาพชุมชน ในอันที่จะช่วยส่งเสริมกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพประชาชนพัฒนาคุณภาพชีวิตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีการออกกำลังกายให้มากขึ้นและต่อเนื่อง
  2. เพื่อลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อต่าง ๆ
  3. เพื่อรณรงค์สร้างกระแสการเดิน – วิ่งเพื่อสุขภาพ ให้เป็นทางเลือกหนึ่งในการออกกำลังกาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมส่งเสริมการเดิน – วิ่งเพื่อสุขภาพในพื้นที่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีกระแสตื่นตัวเรื่องการออกกำลังกาย การเดิน – วิ่ง เพื่อสุขภาพ   2. สามารถลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อต่างๆ ได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีการออกกำลังกายให้มากขึ้นและต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อต่าง ๆ
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อรณรงค์สร้างกระแสการเดิน – วิ่งเพื่อสุขภาพ ให้เป็นทางเลือกหนึ่งในการออกกำลังกาย
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีการออกกำลังกายให้มากขึ้นและต่อเนื่อง (2) เพื่อลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อต่าง ๆ (3) เพื่อรณรงค์สร้างกระแสการเดิน – วิ่งเพื่อสุขภาพ ให้เป็นทางเลือกหนึ่งในการออกกำลังกาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมส่งเสริมการเดิน – วิ่งเพื่อสุขภาพในพื้นที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการร่วมพลัง ชาวท่าสาปเดินวิ่งเพื่อสุขภาพ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางซาวียะห์ มูซา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด