กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง


“ โครงการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มที่สัมผัสผู้ป่วยวัณโรคและกลุ่มเสี่ยงผู้ป่วยเบาหวานที่คุมน้ำตาลไม่ได้ ”

ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ชมรม อสม. ตำบลชะมวง

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มที่สัมผัสผู้ป่วยวัณโรคและกลุ่มเสี่ยงผู้ป่วยเบาหวานที่คุมน้ำตาลไม่ได้

ที่อยู่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-50105-02-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มที่สัมผัสผู้ป่วยวัณโรคและกลุ่มเสี่ยงผู้ป่วยเบาหวานที่คุมน้ำตาลไม่ได้ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มที่สัมผัสผู้ป่วยวัณโรคและกลุ่มเสี่ยงผู้ป่วยเบาหวานที่คุมน้ำตาลไม่ได้



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มที่สัมผัสผู้ป่วยวัณโรคและกลุ่มเสี่ยงผู้ป่วยเบาหวานที่คุมน้ำตาลไม่ได้ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-50105-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัณโรค (Tuberculosis:TB) เป็นโรคติดต่อที่กำลังเป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณสุขเป็นสาเหตุของการป่วย และการเสียชีวิตในหลายๆประเทศทั่วโลกอีกทั้งปัจจุบันการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ทำให้ปัญหาวัณโรคมีความรุนแรงเพิ่มขึ้นวัณโรคจึงนับเป็นปัญหาที่ท้าทายต่อวงการสาธารณสุขของประเทศต่างๆ (กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข,๒๕๔๘) ปัจจุบันทั่วโลกมีผู้ที่ติดเชื้อวัณโรคประมาณ ๒พันล้านคน หรือเกือบ ๑ใน ๓ของประชากรโลก มีผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิต ๑.๙๐ล้านคนในแต่ละปี ประเทศไทยมีปัจจัยหลายอย่างที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินงาน และการขยายงานในการควบคุมวัณโรค ทั้งปัจจัยด้านผู้ป่วยสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจเช่นความยากจนการด้อยโอกาสทางการศึกษาชุมชนแออัดปัญหายาเสพติดแรงงานย้ายถิ่นแรงงานต่างชาติผิดกฎหมายความแออัดของผู้ต้องขังในเรือนจำเป็นต้นจากการคำนวณทางระบาดวิทยาในรายงานขององค์การอนามัยโลกคาดว่า ประเทศไทยน่าจะมีผู้ป่วยรายใหม่ทุกประเภทประมาณ ๙๒,๓๐๐คน ในจำนวนนี้ประมาณครึ่งหนึ่ง หรือ ๔๔,๔๗๕คนเป็นผู้ป่วยที่สามารถแพร่เชื้อได้ และมีผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิตปีละ ๑๒,๐๘๙รายนอกจากนี้ยังพบว่าผู้ป่วยโรคเอดส์รายใหม่ตรวจพบวัณโรคร่วมด้วย ประมาณร้อยละ ๑๗ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ประเทศไทยมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ชนิดเสมหะพบเชื้อจำนวน ๒๕,๙๖๖ราย รวมผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภทมีจำนวน ๕๓,๓๕๗ราย เสียชีวิต ๒,๕๔๘ ราย อัตราการตรวจพบผู้ป่วยรายใหม่คิดเป็นร้อยละ ๖๙.๐๐ ซึ่งยังไมบรรลุเป้าหมายขององค์การอนามัยโลกที่มีเป้าหมายอัตราการตรวจพบผู้ป่วยรายใหม่ อยู่ที่ร้อยละ ๘๕.๐๐ ภายในปี ค.ศ. ๒๐๑๕ มีอัตราความสําเร็จของการรักษาคิดเปน รอยละ ๘๓.๐๐ ซึ่งยังต่ำกวาเปาหมายขององค์การอนามัยโลกที่มีเปาหมายอัตราความสําเร็จของการรักษาอยูที่รอยละ ๘๗.๐๐ ภายในป ค.ศ. ๒๐๑๕(สำนักวัณโรคกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, ๒๕๕๓) อาสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)เป็นตัวแทนประชาชนที่ถูกคัดเลือกให้ทำงานด้านสาธารณสุข และมีงบประมาณสนับสนุนในรูปแบบของงานสาธารณสุขมูลฐานอีกทั้งปัจจุบันได้รับการยอมรับจากส่วนต่างๆ ทั้งระดับประเทศ และในชุมชนเอง เป็นอย่างดี จึงมีความคล่องตัวต่อการดำเนินงานปรับเงื่อนไขทางสังคมและวัฒนธรรมของชุมชน ให้เอื้อต่อการป้องกันวัณโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกทั้ง อสม.นับเป็นแกนนำด้านสุขภาพที่มีความสำคัญในชุมชน ได้รับการพัฒนาศักยภาพจากหน่วยงานสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง ทำให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการติดต่อของโรค การดูแลและรักษาพยาบาล อันตรายของโรค การป้องกันและควบคุมโรคที่ดีระดับหนึ่ง ทำให้มีความเป็นไปได้ในการมีส่วนร่วมเพื่อแก้ไขปัญหาวัณโรคในชุมชนตนเอง นอกจากเป็นการส่งเสริมศักยภาพของชุมชนเองแล้ว ยังเป็นทางเลือกที่จะช่วยแบ่งเบาภาระของบุคลากรทางการแพทย์สาธารณสุข และหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้องในการป้องกันและแก้ไขปัญหาวัณโรคอีกทั้ง อสม.เป็นบุคคลที่อาศัยและทำงานในชุมชนประจำ มีระบบเครือญาติและระบบเครือข่ายทางสังคมย่อมมีความคุ้นเคย เข้าใจสภาพปัญหาในชุมชนทำให้รู้ปัญหา และความต้องการที่แท้จริงของชุมชนตนเองทำให้เกิดความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาวัณโรค ด้วยชุมชน และเพื่อชุมชนตนเองอสม. เป็นกลุ่มบุคคลที่มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคการติดต่อความรุนแรงของโรค ที่ดีระดับหนึ่ง และเป็นผู้ที่มีความใกล้ชิด คุ้นเคยกับชุมชน ทำให้เข้าใจสภาพปัญหาต่างๆในชุมชน อย่างดีโดยการจัดกิจกรรมการบรรยายให้ความรู้ ดูวีดีทัศน์ ศึกษาคู่มือ การเล่าประสบการณ์จากผู้ป่วย การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ภายในกลุ่ม การระดมความคิดเห็นในการดำเนินงาน การร่วมกำหนดบทบาทหน้าที่ของตนเองในการดำเนินงาน การร่วมวางแผนดำเนินงานการฝึกปฏิบัติจริงในชุมชน การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน โดยกิจกรรมดังกล่าว จะเป็นเครื่องมือกระตุ้นให้ อสม.ในพื้นที่ มีความสามารถในการดำเนินงานป้องกันวัณโรคปอดได้ด้วยชุมชนเอง ทำให้เกิดความยั่งยืนในการแก้ไขปัญหาวัณโรคในชุมชน ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงที่สัมผัสผู้ป่วยวัณโรคปอด และกลุ่มเสี่ยงผู้ป่วยโรคเบาหวานที่คุมน้ำตาลไม่ได้
  2. เพื่อลดอัตราการป่วยและการแพร่ระบาดโรควัณโรคในชุมชน
  3. ผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องตามแนวทางการรักษา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เพื่อเอกเรย์ปอด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สามารถค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ได้เพิ่มขึ้น
  2. สามารถลดอัตราการป่วยและการแพร่ระบาดของโรควัณโรคในชุมชนลงได้ระดับหนึ่ง
  3. ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ได้รับการดูแลตามแนวทางการดำเนินงานควบคุมวัณโรคแห่งชาติ (NTP)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เพื่อเอกซเรย์ปอด

วันที่ 23 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

แจ้งหนังสือกลุ่มเป้าหมายเพื่อเข้ารับการเอกซเรย์ปอด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายได้รับการเอกซเรย์ปอดจากโรงพยาบาลควนขนุน จำนวน  179  คน

 

200 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงที่สัมผัสผู้ป่วยวัณโรคปอด และกลุ่มเสี่ยงผู้ป่วยโรคเบาหวานที่คุมน้ำตาลไม่ได้
ตัวชี้วัด : ผู้สัมผัสผู้ป่วยวัณโรคปอดทุกรายได้รับการตรวจเอกเรย์ปอด ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่คุมน้ำตาลไม่ได้ได้รับการตรวจเอกเรย์ปอด
0.00

 

2 เพื่อลดอัตราการป่วยและการแพร่ระบาดโรควัณโรคในชุมชน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและรวดเร็วตามแนวทางการรักษา
0.00

 

3 ผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องตามแนวทางการรักษา
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและรวดเร็วตามแนวทางการรักษา
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงที่สัมผัสผู้ป่วยวัณโรคปอด และกลุ่มเสี่ยงผู้ป่วยโรคเบาหวานที่คุมน้ำตาลไม่ได้ (2) เพื่อลดอัตราการป่วยและการแพร่ระบาดโรควัณโรคในชุมชน (3) ผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องตามแนวทางการรักษา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เพื่อเอกเรย์ปอด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มที่สัมผัสผู้ป่วยวัณโรคและกลุ่มเสี่ยงผู้ป่วยเบาหวานที่คุมน้ำตาลไม่ได้ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-50105-02-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรม อสม. ตำบลชะมวง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด