กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการส่งเสริมการเรียนรู้พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ (สมุนไพรลูกประคบแบบสด) ประจำปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายสมพรจินดาราม

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการเรียนรู้พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ (สมุนไพรลูกประคบแบบสด) ประจำปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2480-2-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการเรียนรู้พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ (สมุนไพรลูกประคบแบบสด) ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการเรียนรู้พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ (สมุนไพรลูกประคบแบบสด) ประจำปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการเรียนรู้พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ (สมุนไพรลูกประคบแบบสด) ประจำปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2480-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,220.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พืชสมุนไพรเป็นสิ่งที่อยู่คู่คนไทยมานับพันปี ซึ่งในปัจจุบันยังมีการใช้พืชสมุนไพรสำหรับอุปโภคและ บริโภคเพื่อสุขภาพ แม้นว่าการแพทย์แผนปัจจุบันเริ่มเข้ามามีบทบาทในการรักษาโรคทำให้การใช้พืชสมุนไพร ลดลง อาจสืบเนื่องมาจากปัจจัยหลายอย่างที่ทำให้การใช้สมุนไพรไทยลดน้อยลงซึ่งจะเป็นที่น่าเสียดายเป็น อย่างยิ่งถ้าพืชสมุนไพรไม่ถูกนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ซึ่งในปัจจุบันยังคงมีการใช้พืชสมุนไพรในการรักษาโรค อยู่ เพื่อเป็นการอนุรักษ์พืชสมุนไพรไม่ให้หายไป พืชสมุนไพรยังคงเป็นกลุ่มพืชที่มีคนให้ความสนใจเป็นอย่าง มากและยังมีการประยุกต์ใช้พืชสมุนไพรใช้ในงานต่างๆ เพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าให้พืชสมุนไพรและใช้ประโยชน์ สูงสุดให้สูงสุดพืชสมุนไพรเป็นผลผลิตจากธรรมชาติ สามารถรักษาโรคบางชนิดได้ สามารถหาได้ง่ายในท้องถิ่น
ดังนั้นความสำคัญและประโยชน์ของสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นจึงมีมากมาย การทำลูกประคบสมุนไพร ก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะนำสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เป็นภูมิปัญญาไทยที่มีมาแต่โบราณ เป็นการนำสมุนไพรพื้นบ้านชนิดต่างๆ มาใช้ ประโยชน์ทางการรักษาโรค ลูกประคบโดยทั่วไปมีพืช สมุนไพรเป็นส่วนประกอบหลักใช้วางประคบตามส่วนต่างๆของร่างกาย ช่วยคลายกล้ามเนื้อ ลดการปวดเมื่อยตามส่วนต่างๆ ของร่างกายเช่น หลัง ต้นคอ แขน ขา เป็นต้นนอกจากนี้กลิ่นของน้ำมันหอมระเหยในสมุนไพรรวมทั้งกลิ่นการบูรและพิมเสนที่เป็นสวนประกอบในลูกประคบ ช่วยทำให้รู้สึก สดชื่น ผ่อนคลายความเครียด แก้ปัญหาผิวเปลือกส้ม สลายไขมันสะสมในร่างกาย ลดสัดส่วน ช่วยให้ผิวพรรณและรูปร่างสมส่วนสวยงาม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ ได้รู้จักสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการบำบัดรักษาโรค
  2. เพื่อให้กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ สามารถทำลูกประคบสมุนไพร
  3. เพื่อให้กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ มีสุขภาพที่ดี
  4. เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาด้านสมุนไพรนำมาใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองได้
  5. เพื่อให้กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ มีแรงจูงใจในการปลูกสมุนไพรในครัวเรือน
  6. สามารถลดค่าใช้จ่ายภายในครอบครัวได้โดยไม่ต้องเสียเงินในการรักษา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับชนิดของสมุนไพรที่มีในท้องถิ่น/กิจกรรมการทำลูกสมุนไพร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ ได้รู้จักสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการบำบัดรักษาโรค 2.กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ สามารถทำลูกประคบสมุนไพร 3.กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ มีสุขภาพที่ดี 4.เป็นการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาด้านสมุนไพรนำมาใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองได้ 5.กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ มีแรงจูงใจในการปลูกสมุนไพรในครัวเรือน 6.ลดค่าใช้จ่ายภายในครอบครัวได้โดยไม่ต้องเสียเงินในการรักษา


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับชนิดของสมุนไพรที่มีในท้องถิ่น/กิจกรรมการทำลูกสมุนไพร

วันที่ 16 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมชี้แจงเพื่อสร้างความเข้าใจให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ
    2.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการ
    3.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน 4.ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ 5.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6.ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ 7.ติดตาม ประเมินผลความก้าวหน้าและผลการดำเนินงานโครงการ
  2. สรุปผลโครงการ รายงานผลการดำเนินงานต่อผู้เกี่ยวข้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ให้กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ ได้รู้จักสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการบำบัดรักษาโรค 2.ให้กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ สามารถทำลูกประคบสมุนไพร 3.ให้กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ มีสุขภาพที่ดี 4.สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาด้านสมุนไพรนำมาใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองได้ 5.ให้กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ มีแรงจูงใจในการปลูกสมุนไพรในครัวเรือน 6.สามารถลดค่าใช้จ่ายภายในครอบครัวได้โดยไม่ต้องเสียเงินในการรักษา

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ ได้รู้จักสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการบำบัดรักษาโรค
ตัวชี้วัด :
40.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ สามารถทำลูกประคบสมุนไพร
ตัวชี้วัด :
40.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ มีสุขภาพที่ดี
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาด้านสมุนไพรนำมาใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองได้
ตัวชี้วัด :
40.00

 

5 เพื่อให้กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ มีแรงจูงใจในการปลูกสมุนไพรในครัวเรือน
ตัวชี้วัด :
40.00

 

6 สามารถลดค่าใช้จ่ายภายในครอบครัวได้โดยไม่ต้องเสียเงินในการรักษา
ตัวชี้วัด :
40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ ได้รู้จักสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการบำบัดรักษาโรค (2) เพื่อให้กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ สามารถทำลูกประคบสมุนไพร (3) เพื่อให้กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ มีสุขภาพที่ดี (4) เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาด้านสมุนไพรนำมาใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองได้ (5) เพื่อให้กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี อสม. ผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่สนใจ มีแรงจูงใจในการปลูกสมุนไพรในครัวเรือน (6) สามารถลดค่าใช้จ่ายภายในครอบครัวได้โดยไม่ต้องเสียเงินในการรักษา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับชนิดของสมุนไพรที่มีในท้องถิ่น/กิจกรรมการทำลูกสมุนไพร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการเรียนรู้พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ (สมุนไพรลูกประคบแบบสด) ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2480-2-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมพรจินดาราม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด