กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า


“ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยไลน์เเดนซ์ (Line Dance) ประจำปีงบประมาณ2566 ”

ณ สำนักงานเทศบาล ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวพิมรดา จิตต์หลัง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยไลน์เเดนซ์ (Line Dance) ประจำปีงบประมาณ2566

ที่อยู่ ณ สำนักงานเทศบาล ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2566 – L8009 - 002 - 003 เลขที่ข้อตกลง 003/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยไลน์เเดนซ์ (Line Dance) ประจำปีงบประมาณ2566 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ณ สำนักงานเทศบาล ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยไลน์เเดนซ์ (Line Dance) ประจำปีงบประมาณ2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยไลน์เเดนซ์ (Line Dance) ประจำปีงบประมาณ2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ณ สำนักงานเทศบาล ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 2566 – L8009 - 002 - 003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 พฤศจิกายน 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการที่รัฐบาลได้กำหนดนโยบายการสร้างสุขภาพ ในกลุ่มประชากรทุกเพศทุกวัย เพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักเรื่องสุขภาพ ด้วยกลยุทธ์ “สร้างนำซ่อม”เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของเครือข่ายชุมชนและการสร้างชุมชนให้เป็นรากฐานการสร้างสุขภาพ ซึ่งวิธีการที่ประหยัด และมีประสิทธิภาพ ซึ่งการส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ โดยเฉพาะการออกกำลังกายแบบไลน์แดนซ์ (LineDance)
ไลน์แดนซ์ (LineDance) เป็นกิจกรรมการออกกำลังกายแบบแอโรบิกเพื่อสุขภาพ เป็นการเต้นรำที่ไม่ต้องเต้นเป็นคู่แต่เต้นเป็นแถว เป็นแถวเดียวหรือหลายแถวตามจังหวะลีลา เมื่อเต้นครบสเตปจะหันตัวกลับทิศพร้อมกัน ด้านซ้ายหรือด้านขวา จนครบทั้งสี่ทิศ มีการใช้แขนขาที่ช่วยพัฒนาสมองซีกซ้ายขวาอย่างสมดุล ป้องกันโรคสมองเสื่อม และช่วยเพิ่มสมรรถภาพของร่างกาย ทำให้เคลื่อนไหวร่างกายได้คล่องแคล่วว่องไว การทรงตัวดี กล้ามเนื้อแข็งแรง ช่วยลดน้ำตาลและไขมัน การพัฒนาการทำงานของระบบต่างๆของร่างกาย ได้แก่ระบบไหลเวียนโลหิต ช่วยให้หัวใจแข็งแรง ระบบประสาท ระบบชีวเคมีในเลือดฯลฯ
มีการเคลื่อนไหวตามจังหวะอย่างสนุกสนานหลากหลายรูปแบบ ในการนี้ กลุ่มพัฒนาสตรีเทศบาลตำบลทุ่งหว้าให้ความสนใจที่จะเรียนรู้และฝึกทักษะ จึงได้จัดทำ“โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยไลน์แดนซ์ (LineDance) ประจำปี๒๕๖๖”ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมและสร้างนิสัยรักสุขภาพด้วยการออกกำลังกายให้กับประชาชนกลุ่มสตรีทุกเพศทุกวัย
  2. 2.พื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรง ห่างไกลโรคภัยไข้เจ็บ มีคุณภาพชีวิตที่ดีมีความสุขในการดำเนินชีวิต
  3. เพื่อสร้างเครือข่ายสุขภาพในชุมชน ด้วยการส่งเสริมการออกกำลังกายแบบไลน์แดนซ์ (LineDance)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.อบรมให้ความรู้การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพห่างไกลโรค 2.ฝึกทักษะการออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพ แบบไลน์แดนซ์ (Line Dance)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ทำให้กลุ่มสตรีที่เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ สัปดาห์ละ ๓ วันอย่างสม่ำเสมอได้ 2. เกิดการรวมตัวของเครือข่ายสุขภาพในชุมชนที่เข้มแข็งสามารถดูแลตนเอง/ครอบครัวและมีการทำกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง 3.ประชาชนกลุ่มสตรีหันมาสนใจการออกกำลังกายมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.อบรมให้ความรู้การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพห่างไกลโรค 2.ฝึกทักษะการออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพ แบบไลน์แดนซ์ (Line Dance)

วันที่ 25 มกราคม 2566 เวลา 17:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)
    ขั้นตอนวางแผนงาน
    1. ขั้นเตรียมการ -ประชุมชี้แจงโครงการฯแก่คณะกรรมการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ         -จัดทำโครงการเพื่อขอรับงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลทุ่งหว้า   2.  ขั้นดำเนินงาน           2.1 ประชาสัมพันธ์กิจกรรม/โครงการเพื่อขอความคิดเห็นจากสมาชิกในสตรีในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลทุ่งหว้า
          2.2 ดำเนินการตามแผน   3. กิจกรรมที่จะดำเนินงานตามโครงการ 1  จัดอบรมให้ความรู้ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพห่างไกลโรค 2  จัดฝึกทักษะในการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพห่างไกลโรค  แบบไลน์แดนซ์ (Line  Dance) สัปดาห์ละ 3 วัน ดังนี้ (วันจันทร์ - พุธ - ศุกร์) อย่างต่อเนื่อง เวลา 17.00 - 18.00 น.
3  ติดตามประเมินผล โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ 4  สรุปและรายงานผลภายใน 30 วัน หลังจากเสร็จโครงการฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการดำเนินงานตามโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยไลน์แดนซ์ (Line Dance) ประจำปีงบประมาณ 2566 ได้จัดกิจกรรมระหว่างในวันที่ 25 มกราคม - 24 พฤษภาคม 2566 ณ บริเวณสำนักงานเทศบาลตำบลทุ่งหว้า ได้รับความสนใจจากสตรี ตามเป้าหมายที่วางไว้ อบรมการออกกำลังกายไลน์แดนซ์ (Line Dance) เป็นกิจกรรมการออกกำลังกายแบบแอโรบิกเพื่อสุขภาพ เป็นการเต้นรำที่ไม่ต้องเต้นเป็นคู่แต่เต้นเป็นแถว เป็นแถวเดียวหรือหลายแถวตามจังหวะลีลา เมื่อเต้นครบสเตปจะหันตัวกลับทิศพร้อมกัน ด้านซ้ายหรือด้านขวา จนครบทั้งสี่ทิศ มีการใช้แขนขาที่ช่วยพัฒนาสมองซีกซ้ายขวาอย่างสมดุล ป้องกันโรคสมองเสื่อม และช่วยเพิ่มสมรรถภาพของร่างกาย ทำให้เคลื่อนไหวร่างกายได้คล่องแคล่วว่องไว การทรงตัวดี กล้ามเนื้อแข็งแรง ช่วยลดน้ำตาลและไขมัน การพัฒนาการทำงานของระบบต่างๆของร่างกาย ได้แก่ระบบไหลเวียนโลหิต ช่วยให้หัวใจแข็งแรง ระบบประสาท ระบบชีวเคมีในเลือดฯลฯ มีการเคลื่อนไหวตามจังหวะอย่างสนุกสนานหลากหลายรูปแบบ จากแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการฯ มี 2 กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 อบรมบรรยายเรื่อง ประวัติไลน์แดนซ์ ,ไลน์แดนซ์ (Line Dance) ขั้นพื้นฐาน, วิธีการเต้นและท่าเต้นไลน์แดนซ์ (Line Dance) วันที่ 25 มกราคม 2566 ณ  ห้องประชุมสำนักงานเทศบาลตำบลทุ่งหว้า จำนวนผู้เข้าอบรม จำนวน 30 คน
จากแบบสอบถามความพึงพอใจ ของผู้เข้าร่วมอบรมการออกกำลังกายส่วนใหญ่จะพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก เช่น ด้านวิทยากร การถ่ายทอดความรู้ของวิทยากรนำเต้นไลน์แดนซ์ (Line Dance) อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 76.67 % ความสามารถในการอธิบายเนื้อหาการเต้นไลน์แดนซ์ (Line Dance) ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 70.00 % การตอบข้อซักถามในการฝึกอบรมเต้นไลน์แดนซ์ (Line Dance) อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 50.00 % ด้านสถานที่/ระยะเวลาหน่วยงานผู้จัด สถานที่สะอาดมีความเหมาะสม อยู่ในระดับ  ดีมาก คิดเป็นร้อยละ ๖๖.๖๗ % ความพร้อมของอุปกรณ์ ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 70.00 % ระยะเวลามีความเหมาะสม อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ ๘๓.๓๓ % การให้ข้อมูลของหน่วยงานผู้จัด อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ ๗๖.๖๗ % ด้านการนำความรู้ไปใช้ เนื้อหาตรงความต้องการ ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ ๙๐.๐๐ % สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติและสามารถเป็นแกนนำออกกำลังกาย ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 86.67 % สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ได้ ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ๘๓.๓๓ % สรุปประโยชน์ที่ท่านได้จากการอบรมในครั้งนี้ ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ ๘๓.๓๓ %การถ่ายทอดความรู้ของวิทยากรนำเต้นไลน์แดนซ์ (Line Dance) อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ ๗๘.๙๕ % ท่าเต้นที่ใช้ในการออกกำลังกาย อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ๖๕.๗๙ %เพลงที่ใช้ในการประกอบการออกกำลังกาย อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 63.16 % สถานที่มีความเหมาะสม อยู่ในระดับ ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 76.32% ระยะเวลามีความเหมาะสม อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 71.05 % การออกกำลังกายทำให้ท่านมีสุขภาพที่ดี ร่างกายแข็งแรง คล่องแคล่วว่องไว กระฉับกระเฉงขึ้น อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 86.84 % การออกกำลังกายทำให้ท่านพัฒนาทักษะ ความจำและสมาธิ อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 81.58 % การออกกำลังกายทำให้ท่านมีความสุข สนุกสนาน รู้สึกผ่อนคลาย อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 86.84 % การเข้าร่วมกิจกรรมทำให้ท่านได้ปฏิสัมพันธ์และมีส่วนร่วมในสังคมมากขึ้น อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 81.58 % เมื่อสิ้นสุดโครงการฯแล้ว ท่านอยากให้มีกิจกรรมออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องต่อไปหรือไม่ อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 81.58% กิจกรรมที่ 2 เต้นไลน์แดนซ์ (Line Dance) ระหว่างวันที่ 25 มกราคม - 24 พฤษภาคม 2566  ณ บริเวณหน้าสำนักงานเทศบาลตำบลทุ่งหว้า จากจำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 30 คน
จำนวน 52 ชั่วโมง
    จากแบบสอบถามความพึงพอใจ ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายส่วนใหญ่จะพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก เช่น ความรู้ความสามารถของวิทยากรนำเต้นไลน์แดนซ์ (Line Dance) อยู่ในระดับดีมากคิดเป็นร้อยละ 78.95 % การถ่ายทอดความรู้ของวิทยากรนำเต้นไลน์แดนซ์ (Line Dance) อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 78.95%
ท่าเต้นที่ใช้ในการออกกำลังกาย อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 71.05 % เพลงที่ใช้ในการประกอบการออกกำลังกาย อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 65.79% สถานที่มีความเหมาะสม อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 71.05 % ระยะเวลามีความเหมาะสม อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 73.68 % การออกกำลังกายทำให้ท่านมีสุขภาพที่ดี ร่างกายแข็งแรง คล่องแคล่วว่องไว กระฉับกระเฉงขึ้น อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 84.21 % การออกกำลังกายทำให้ท่านพัฒนาทักษะ ความจำและสมาธิ อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 86.84 % การออกกำลังกายทำให้ท่านมีความสุข สนุกสนาน รู้สึกผ่อนคลาย อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 86.84 % การเข้าร่วมกิจกรรมทำให้ท่านได้ปฏิสัมพันธ์และมีส่วนร่วมในสังคมมากขึ้น อยู่ในระดับดีมาก  คิดเป็นร้อยละ 81.58% เมื่อสิ้นสุดโครงการฯแล้ว ท่านอยากให้มีกิจกรรมออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องต่อไปหรือไม่ อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 81.58%เมื่อสิ้นสุดโครงการฯ ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์และปรับใช้ในชีวิตประจำวัน ห่างไกลโรค และมีภาวะโภชนาที่เหมาะสม
2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ บรรลุตามวัตถุประสงค์ 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมในโครงการฯ จำนวน 30 คน 3. การเบิกจ่ายงบประมาณ - งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ จำนวน 25,950.-บาท - งบประมาณเบิกจ่ายจริง จำนวน 25,950.-บาท คิดเป็นร้อยละ 100 - งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ จำนวน - บาท    คิดเป็นร้อยละ - 4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน -ปัญหาและอุปสรรค  ไม่มี

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมและสร้างนิสัยรักสุขภาพด้วยการออกกำลังกายให้กับประชาชนกลุ่มสตรีทุกเพศทุกวัย
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนกลุ่มสตรีทุกเพศทุกวัยรักสุขภาพมีสุขภาพ แข็งแรง ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บมีคุณภาพชีวิตที่ดีมีความสุขในการดำเนินชีวิต ร้อยละ ๑๐๐
80.00 80.00 80.00

 

2 2.พื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรง ห่างไกลโรคภัยไข้เจ็บ มีคุณภาพชีวิตที่ดีมีความสุขในการดำเนินชีวิต
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มสตรีทุกเพศทุกวัยรักสุขภาพ มีสุขภาพแข็งแรง ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บมีคุณภาพชีวิตที่ดี
80.00 80.00 80.00

 

3 เพื่อสร้างเครือข่ายสุขภาพในชุมชน ด้วยการส่งเสริมการออกกำลังกายแบบไลน์แดนซ์ (LineDance)
ตัวชี้วัด : 3.เพื่อสร้างเครือข่ายสุขภาพในชุมชน ร้อยละ ๑๐๐
80.00 80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมและสร้างนิสัยรักสุขภาพด้วยการออกกำลังกายให้กับประชาชนกลุ่มสตรีทุกเพศทุกวัย (2) 2.พื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรง ห่างไกลโรคภัยไข้เจ็บ มีคุณภาพชีวิตที่ดีมีความสุขในการดำเนินชีวิต (3) เพื่อสร้างเครือข่ายสุขภาพในชุมชน ด้วยการส่งเสริมการออกกำลังกายแบบไลน์แดนซ์ (LineDance)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อบรมให้ความรู้การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพห่างไกลโรค  2.ฝึกทักษะการออกกำลังกาย  เพื่อสุขภาพ แบบไลน์แดนซ์  (Line  Dance)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยไลน์เเดนซ์ (Line Dance) ประจำปีงบประมาณ2566

รหัสโครงการ 2566 – L8009 - 002 - 003 รหัสสัญญา 003/2566 ระยะเวลาโครงการ 8 พฤศจิกายน 2565 - 30 กันยายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยไลน์เเดนซ์ (Line Dance) ประจำปีงบประมาณ2566 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2566 – L8009 - 002 - 003

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวพิมรดา จิตต์หลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด