กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า


“ โครงการอบรมการดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลทุ่งหว้า ประจำปีงบประมาณ 2566 ”

ณ สำนักงานเทศบาล ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายอนันต์ ทิพย์นรากุล

ชื่อโครงการ โครงการอบรมการดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลทุ่งหว้า ประจำปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ณ สำนักงานเทศบาล ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2566 - L8009 - 003 - 004 เลขที่ข้อตกลง 004/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมการดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลทุ่งหว้า ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ณ สำนักงานเทศบาล ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมการดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลทุ่งหว้า ประจำปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้หลักการดูแลสุขภาพ การเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมและการป้องกันโรคที่จะเกิดกับผู้สูงอายุ
(2) 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุนำความรู้ความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุไปขยายเครือข่ายผู้สูงอายุด้วยกันที่ไม่ได้อยู่ในกลุ่มเป้าหมาย ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ,เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานผู้สูงอายุ,คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลทุ่งหว้า
หัวข้อ อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงวัย ดูแลอย่างไรให้ห่างไกลโรค

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลทุ่งหว้าได้มีชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลทุ่งหว้า ได้จัดทำกิจกรรมต่างๆเพื่อเป็นสวัสดิการและสังคมสำหรับผู้สูงอายุในชุมชนโดยการขับเคลื่อนร่วมกับแกนนำผู้สูงอายุและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นพี่เลี้ยงในการดำเนินการโดยใช้ผู้สูงอายุได้มีสถานที่ร่วมกลุ่มทำกิจกรรมและบริการที่ครอบคลุมทุกมิติทางด้านสุขภาพ สังคมจิตใจ และเศรษฐกิจโดยเฉพาะมิติด้านเศรษฐกิจเป็นการสร้างรายได้การมีงานทำที่เหมาะสมซึ่งผู้สูงอายุสามารถทำคุณประโยชน์ต่อสังคมควบคู่ไปกับลูกหลาน คนรุ่นหลังเป็นแบบอย่างที่ดีในการใช้ชีวิตในอนาคตอย่างมีความสุข ชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลทุ่งหว้าได้เล็งเห็นความสำคัญต่อสังคมและชุมชนท้องถิ่น ประกอบกับโครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนแปลงเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มรูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุจำเป็นต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องจึงมีความเชื่อว่าความจำเป็นต้องได้รับการดูแลและส่งเสริมผู้สูงอายุด้านสุขภาพด้านต่างๆ อาทิ การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ การมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสม การพักผ่อนอย่างเพียงพอ การดำเนินกิจกรรมต่างๆเพื่อผ่อนคลายความเครียดซึ่งการส่งเสริมสุขภาพเป็นแนวทางที่ช่วยลดต่อภาวะเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังและโรคที่เป็นปัญหาในชุมชน เป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพชีวิตและสุขภาวะที่ดีทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม ทั้งยังชะลอความเสื่อมสภาพร่างกายของผู้สูงอายุ การดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพที่ดีควบคู่ไปกับการมีอายุยืนยาว
ดังนั้น ชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลทุ่งหว้าได้ตระหนักและเห็นความสำคัญในการดูแลผู้สูงอายุเพื่อให้มีคุณภาพคุณภาพชีวิตที่ดี จึงได้จัดทำ“โครงการอบรมการดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุเทศบาลตำบลทุ่งหว้า”เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านผู้สูงอายุและภาคีเครือข่ายผู้สูงอายุต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้หลักการดูแลสุขภาพ การเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมและการป้องกันโรคที่จะเกิดกับผู้สูงอายุ
  2. 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุนำความรู้ความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุไปขยายเครือข่ายผู้สูงอายุด้วยกันที่ไม่ได้อยู่ในกลุ่มเป้าหมาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ,เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานผู้สูงอายุ,คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลทุ่งหว้า หัวข้อ อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงวัย ดูแลอย่างไรให้ห่างไกลโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 90
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจหลักการดูแลสุขภาพการเลือกรับประทานที่เหมาะสมและการป้องกันโรค ที่จะเกิดขึ้นแก่ผู้สูงอายุ
  2. ผู้สูงอายุมีสุขภาวะทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสามารถเข้าสังคมได้อย่างมีความสุข
  3. ผู้สูงอายุสามารถดำเนินงานด้านผู้สูงอายุในพื้นที่ได้อย่างเข้มแข็งและยั่งยืน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ,เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานผู้สูงอายุ,คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลทุ่งหว้า หัวข้อ อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงวัย ดูแลอย่างไรให้ห่างไกลโรค

วันที่ 3 พฤษภาคม 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)
    ขั้นตอนวางแผนงาน
    1. ขั้นเตรียมการ           1.1 ประชุม เจ้าหน้าที่ คณะกรรมการในชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลทุ่งหว้า เพื่อจัดทำร่างโครงการฯ 1.2 เขียนโครงการเสนอต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลทุ่งหว้าเพื่ออนุมัติโครงการ 1.3 เสนอแผนการดำเนินกิจกรรมขอรับการสนับสนุน   2.  ขั้นดำเนินงาน           2.1 ประชาสัมพันธ์กิจกรรม/โครงการเพื่อขอความคิดเห็นจากสมาชิกในชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลทุ่งหว้า           2.2 ดำเนินการตามแผน           2.3 ประเมินผล           2.4 จัดทำรายงานไปยังกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลทุ่งหว้า   3. กิจกรรมที่จะดำเนินงานตามโครงการ           3.1  ดำเนินการจัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ,เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานผู้สูงอายุ,คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลทุ่งหว้า
        หัวข้อ อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและให้ความรู้ความเข้าใจสุขภาพผู้สูงวัย ดูแลอย่างไรให้ห่างไกลโรค 3.2  ติดตามประเมินผล โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ 3.3  สรุปและรายงานผลภายใน 30 วัน หลังจากเสร็จโครงการฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการดำเนินงานตามโครงการอบรมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุเทศบาลตำบลทุ่งหว้า ได้จัดกิจกรรมในวันพุธ        ที่ ๓ พฤษภาคม  ๒๕๖๖  ณ  บริเวณสำนักงานเทศบาลตำบลทุ่งหว้า ได้รับความสนใจจากผู้สูงอายุตามเป้าหมายที่วางไว้ จำนวน ๙๐ คน อบรมเรื่อง สุขภาพผู้สูงวัย ดูแลอย่างไรให้ห่างไกลโรค สูงวัยอย่างสง่า ชราอย่างมีคุณภาพและภาวะโภชนาที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ จากแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการฯ ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมากและระดับดี ดังนี้ ๑. ด้านความพร้อมของหน่วยงานเทศบาลตำบลทุ่งหว้า การแจ้งข่าวประชาสัมพันธ์โครงการฯ อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ ๔๖.๖๗  และระดับดี คิดเป็นร้อยละ ๕๓.๓๓  สถานที่จัดโครงการฯ อยู่ในระดับดีมาก  คิดเป็นร้อยละ  ๕๔.๔๔  และระดับดี คิดเป็นร้อยละ ๔๕.๕๖ ความเหมาะสมช่วงเวลา/ระยะเวลา  อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ  ๕๒.๒๒  และระดับดี คิดเป็นร้อยละ ๔๗.๗๘ ๒.ด้านความรอบรู้ในเนื้อหาของวิทยากร  อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ  ๔๘.๘๙  อยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ  ๕๐.๐๐ และอยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ ๑.๑๑  การสื่อสาร/ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ  ๔๘.๘๙  อยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ  ๕๐.๐๐ และอยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ ๑.๑๑  การตอบคำถามของวิทยากร อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ ๕๑.๑๑  อยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ ๔๗.๗๘ อยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ ๑.๑๑ เปิดโอกาสให้ซักถามหรือมีส่วนร่วม อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ ๕๑.๑๑  อยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ ๔๗.๗๘ อยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ ๑.๑๑ ๓.ด้านเอกสารประกอบ อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ ๔๒.๒๒ และอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ ๕๗.๗๘ เจ้าหน้าที่ดูแลโครงการฯ อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ ๔๘.๘๙ และอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ ๕๑.๑๑ อาหารว่างและเครื่องดื่ม อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ ๕๐.๐๐ และอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ ๕๐.๐๐ อาหารเที่ยง อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ ๔๘.๘๙ และอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ ๕๑.๑๑ ๔.ด้านความรู้ความเข้าใจ ก่อน เข้าร่วมโครงการฯ อยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ ๗.๗๘ อยู่ในระดับปานกลาง      คิดเป็นร้อยละ ๘๐.๐๐ และอยู่ในระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๒๒ และ ความรู้ความเข้าใจ หลัง เข้าร่วมโครงการฯ      อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ ๗๓.๓๓ และอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ ๒๖.๖๗ ๕.ด้านประโยชน์และความรู้ที่ได้จากการเข้าโครงการฯ อยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ ๔๓.๓๓  และอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ ๕๖.๖๗ และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ ๔๔.๔๔และอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ ๕๕.๕๖ เมื่อสิ้นสุดโครงการฯ ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์และปรับใช้ในชีวิตประจำวัน ห่างไกลโรค และมีภาวะโภชนาที่เหมาะสม

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ส่วนที่ 3  แบบรายงานผลการดำเนินแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่ได้รับงบสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ(สำหรับผู้เสนอ ลงรายละเอียดเมื่อเสร็จสิ้นการดำเนินงาน) ชื่อโครงการ โครงการอบรมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุเทศบาลตำบลทุ่งหว้า 1.ผลการดำเนินงาน จากการดำเนินงานตามโครงการอบรมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุเทศบาลตำบลทุ่งหว้า ได้จัดกิจกรรมในวันพุธ ที่ 3 พฤษภาคม 2566 ณ บริเวณสำนักงานเทศบาลตำบลทุ่งหว้า ได้รับความสนใจจากผู้สูงอายุตามเป้าหมายที่วางไว้ จำนวน 90 คน อบรมเรื่อง สุขภาพผู้สูงวัย ดูแลอย่างไรให้ห่างไกลโรค สูงวัยอย่างสง่า ชราอย่างมีคุณภาพและภาวะโภชนาที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ จากแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการฯ ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมากและระดับดี ดังนี้ 1. ด้านความพร้อมของหน่วยงานเทศบาลตำบลทุ่งหว้า การแจ้งข่าวประชาสัมพันธ์โครงการฯ อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 46.67 และระดับดี คิดเป็นร้อยละ 53.33 สถานที่จัดโครงการฯ อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 54.44 และระดับดี คิดเป็นร้อยละ 45.56 ความเหมาะสมช่วงเวลา/ระยะเวลา อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 52.22และระดับดี คิดเป็นร้อยละ 47.78 2. ด้านความรอบรู้ในเนื้อหาของวิทยากร อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 48.89 อยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 50.00 และอยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 1.11 การสื่อสาร/ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 48.89 อยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 50.00 และอยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 1.11 การตอบคำถามของวิทยากร อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 51.11 อยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 47.78 อยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 1.11 เปิดโอกาสให้ซักถามหรือมีส่วนร่วม อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 51.11 อยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 47.78 อยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 1.11 3. ด้านเอกสารประกอบ อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 52.22 และอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 57.78 เจ้าหน้าที่ดูแลโครงการฯ อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 48.89 และอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 51.11 อาหารว่างและเครื่องดื่ม อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 50.00 และอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 50.00 อาหารเที่ยง อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 48.89 และอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 51.11 4. ด้านความรู้ความเข้าใจ ก่อน เข้าร่วมโครงการฯ อยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 7.78 อยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 80.00 และอยู่ในระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 12.22 และ ความรู้ความเข้าใจ หลัง เข้าร่วมโครงการฯ อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 73.33 และอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 26.67 5. ด้านประโยชน์และความรู้ที่ได้จากการเข้าโครงการฯ อยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 43.33 และอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ ๕๖.๖๗ และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ
44.44 และอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 55.56 เมื่อสิ้นสุดโครงการฯ ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์และปรับใช้ในชีวิตประจำวัน ห่างไกลโรค และมีภาวะโภชนาที่เหมาะสม
2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์   - บรรลุตามวัตถุประสงค์ 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมในโครงการฯ จำนวน 90 คน 3. การเบิกจ่ายงบประมาณ - งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ จำนวน 29,650.-บาท - งบประมาณเบิกจ่ายจริง จำนวน 29,650.-บาท  คิดเป็นร้อยละ 100 - งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ  จำนวน  -        คิดเป็นร้อยละ  - 4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน -ปัญหาและอุปสรรค (ระบุ) ………ไม่มี………………………………………………………………………………………………………………..

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้หลักการดูแลสุขภาพ การเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมและการป้องกันโรคที่จะเกิดกับผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : 2. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจหลักการดูแลสุขภาพการเลือกรับประทานที่เหมาะสมและการป้องกันโรคที่จะเกิดขึ้นแก่ผู้สูงอายุ
80.00 80.00

 

2 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุนำความรู้ความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุไปขยายเครือข่ายผู้สูงอายุด้วยกันที่ไม่ได้อยู่ในกลุ่มเป้าหมาย
ตัวชี้วัด : 2. ผู้สูงอายุสามารถได้รับความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องเพื่อสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืน
80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ 90 90
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้หลักการดูแลสุขภาพ การเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมและการป้องกันโรคที่จะเกิดกับผู้สูงอายุ
(2) 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุนำความรู้ความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุไปขยายเครือข่ายผู้สูงอายุด้วยกันที่ไม่ได้อยู่ในกลุ่มเป้าหมาย ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ,เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานผู้สูงอายุ,คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลทุ่งหว้า
หัวข้อ อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงวัย ดูแลอย่างไรให้ห่างไกลโรค

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมการดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลทุ่งหว้า ประจำปีงบประมาณ 2566

รหัสโครงการ 2566 - L8009 - 003 - 004 รหัสสัญญา 004/2565 ระยะเวลาโครงการ 8 พฤศจิกายน 2565 - 30 กันยายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการอบรมการดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลทุ่งหว้า ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2566 - L8009 - 003 - 004

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอนันต์ ทิพย์นรากุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด