กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด


“ โครงการเสริมพลังเครือข่ายและแกนนำนักเรียน ตำบลปูยุดห่างไกลโรคติดต่อ ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางฮานาน มะยีแต

ชื่อโครงการ โครงการเสริมพลังเครือข่ายและแกนนำนักเรียน ตำบลปูยุดห่างไกลโรคติดต่อ ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3017-01-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 มิถุนายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมพลังเครือข่ายและแกนนำนักเรียน ตำบลปูยุดห่างไกลโรคติดต่อ ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมพลังเครือข่ายและแกนนำนักเรียน ตำบลปูยุดห่างไกลโรคติดต่อ ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมพลังเครือข่ายและแกนนำนักเรียน ตำบลปูยุดห่างไกลโรคติดต่อ ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L3017-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤษภาคม 2566 - 30 มิถุนายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามยุทธศาสตร์การดำเนินงานของกระทรวงสาธารณสุข และกรมควบคุมโรค ในด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion Prevention & Protection Excellence) การขับเคลื่อนแนวทางการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศไทยให้บรรลุเป้าหมายของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ 20 ปี โดยเฉพาะประเด็นที่ 13 การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดีและแผนแม่บทย่อย 13.5 การพัฒนาและสร้างระบบรับมือปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและร่วมดำเนินการในแผนแม่บทย่อยในประเด็นการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพและการป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามสุขภาพซึ่งมีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนมีความรอบรู้สุขภาพด้านโรคและภัยสุขภาพรวมถึงโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์สามารถดูแลสุขภาพและป้องกันและลดโรคภัยสุขภาพที่ป้องกันได้ สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติตำบลปูยุดจึงได้จัดทำแนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพโดยได้นำแนวทางและคู่มือการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคสำหรับใช้ดำเนินการในพื้นที่ประจำปีงบประมาณ 2565 ขึ้นเพื่อให้หน่วยงานเครือข่ายในระดับพื้นที่ใช้เป็นแนวทางขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคและภัยสุขภาพให้เกิดผลสำเร็จเป็นรูปธรรมโดยมีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนลดการปวดและลดการเสียชีวิตจากโรคและภัยสุขภาพที่ป้องกันได้ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคภัยสุขภาพและสามารถดำเนินกิจกรรมได้อย่างปกติการขับเคลื่อนแนวทางการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศไทยให้บรรลุเป้าหมาย

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด – ๑๙ ในช่วง ปี ๒๕๖๔ ถึงปัจจุบัน พบว่าประชาชนและทุกภาคส่วนได้รับผลกระทบอย่างมหาศาล ตั้งแต่ ด้านการประกอบอาชีพ ด้านรายได้ ด้านการศึกษา ด้านเศรษฐกิจ ตลอดจนเกิดการสูญเสีย และเดือดร้อนต่อการดำเนินชีวิตอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ กลุ่มวัยเรียนขาดการศึกษา อย่างมีคุณภาพ กลุ่มวัยทำงานขาดรายได้ กลุ่มวัยสูงอายุ วัยพึ่งพิง เกิดการเพื่อการขับเคลื่อนงาน และการเฝ้าระวัง อันตรายจากการบริโภคของชุมชน สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลปูยุด จึงได้จัดทำโครงการคุ้มครองผู้บริโภค อาหารปลอดภัย ปี 66 ขึ้นมาเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและประกันคุณภาพของอาหาร เพื่อเป็นการพัฒนาและสร้างความรู้แก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภคให้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกซื้ออาหาร และการใช้ยาที่เหมาะสมและปลอดภัยต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
    กลุ่มวัยทำงาน 20
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
    กลุ่มวัยทำงาน 20
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเสริมพลังเครือข่ายและแกนนำนักเรียน ตำบลปูยุดห่างไกลโรคติดต่อ ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 65-L3017-01-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางฮานาน มะยีแต )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด