กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี


“ โครงการพัฒนาคุณภาพแผงลอยบทบาทวิถี ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2561 ”

แผงลอยในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 3 ตำบล ต.จะบังติกอ ต.อาเนาะรู ต.สะบารัง

หัวหน้าโครงการ
นางทรงสิริมะลีวัน

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพแผงลอยบทบาทวิถี ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ แผงลอยในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 3 ตำบล ต.จะบังติกอ ต.อาเนาะรู ต.สะบารัง จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 1 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาคุณภาพแผงลอยบทบาทวิถี ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน แผงลอยในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 3 ตำบล ต.จะบังติกอ ต.อาเนาะรู ต.สะบารัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพแผงลอยบทบาทวิถี ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพแผงลอยบทบาทวิถี ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ แผงลอยในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 3 ตำบล ต.จะบังติกอ ต.อาเนาะรู ต.สะบารัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 1 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 110,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยสภาพสังคมเมืองปัตตานีเป็นเมืองที่มีประชาชนหนาแน่น มีความสะดวกสบาย เร่งรีบ รวดเร็ว ไม่เว้นกระทั่งเรื่องการรับประทานอาหาร จึงไม่มีโอกาสให้เลือกมากนัก การจะหาอาหารที่ปลอดภัยเป็นเรื่องยากเพราะเดี๋ยวนี้เน้น อิ่ม-เร็ว-ถูก ส่งผลให้แผงลอยบนทางเท้าจำหน่ายอาหารพวก แกงถุง ข้าวกล่อง การประกอบกิจการแผงลอยเป็นสถานที่ที่มีผู้มาใช้บริการเป็นจำนวนมากในแต่ละวัน กลายเป็นสิ่งสำคัญในชีวิตประจำวันของคนเมืองปัตตานี

ปัจจุบันมีเทศบาลเมืองปัตตานี มีตำบลต้องรับผิดชอบ 3 ตำบล คือ (1). ตำบลจะบังติกอ (2) ตำบลอาเนาะรู (3) ตำบลสะบารัง อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี มีการจำหน่ายอาหารบนแผงลอยเร่ขายจำนวนมาก จำหน่ายอาหารในช่วงเช้า/ช่วงเย็นจากการสำรวจสอบถามผู้ประกอบการไม่เคยผ่านการอบรมเรื่อง สุขาภิบาลอาหารอาหาร ทำให้อาหารอาจถูกปนเปื้อนได้โดยเชื้อโรค สิ่งสกปรกและสารพิษต่างๆ ในขั้นตอนการเตรียม ปรุงประกอบและการจำหน่ายอาหารซึ่งเป็นสาเหตุทำให้อาหารไม่สะอาดไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค อันได้แก่ ด้านกายภาพเช่น แก้ว,หิน ฯลฯ ด้านเคมี พิษจากสาร เชื้อโรค ฯลฯ ด้านชีวภาพ พยาธิ ฯลฯ ฉะนั้น การจัดการควบคุมป้องกันอาหารให้สะอาดปลอดภัย จึงต้องมีการควบคุมปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้สกปรกได้แก่ ปัจจัยที่1 บุคคล ปัจจัยที่2 อาหาร ปัจจัย3 ภาชนะอุปกรณ์ ปัจจัยที่4 สถานที่ปัจจัยที่5 สัตว์แมลงนำโรค การสำรวจข้อมูลผู้ประกอบการในเขตพื้นที่ทั้งหมด 3 ตำบล พบว่า ช่วงเช้าประมาณ 100 แผง ประกอบด้วย ตำบลจะบังติกอ ประมาณ 40 แผง ตำบลสะบารัง ประมาณ 40 แผง ตำบลอาเนาะรู ประมาณ 20 แผง ส่วนแผงลอยช่วงเย็นในเขตพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 110 แผง ประกอบด้วย ตำบลจะบังติกอ ประมาณ 30 แผง ตำบลสะบารัง 40 ประมาณ แผง ตำบลอาเนาะรู ประมาณ 40 แผง นอกจากนี้ประชาชนได้มีการร้องเรียนเรื่องขยะที่ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารตามแผงลอยบนทางเท้าหน้าบ้านของประชาชน สถานที่เอกชน ฯลฯ โดยผู้ประกอบการทิ้งขยะจำพวกเศษอาหาร และถุงพลาสติกลงคูระบายน้ำ ทำให้มีกลิ่นเหม็น มักก่อให้เกิดปัญหาการอุดตันตามท่อระบายน้ำ เมื่อถึงฤดูฝนตกหนักทำให้เกิดปัญหาน้ำท่วมน้ำขังดังนั้นกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองปัตตานี จึงจัดโครงการพัฒนาคุณภาพแผงลอยบนบาทวิถี ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2561 เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและประกันคุณภาพของอาหาร(CFGT) เป็นการพัฒนาองค์ความรู้แก่ผู้ประกอบการ ตลอดจนผู้บริโภคให้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกซื้ออาหารที่เหมาะสม อันจะส่งผลให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่ปราศจากสารปนเปื้อนและสะอาดปลอดภัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ประกอบการมีความรู้ความสามารถนำไปปฏบัติได้
  2. 2.เพื่อให้แผงลอยผ่านมาตรฐานหลักเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ขั้นเตรียมการ
  2. 2. ขั้นดำเนินการ
  3. ขั้นสรุปผล - ติดตามประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 210
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.แผงจำหน่ายอาหารได้รับการพัฒนาแผงยกระดับการพัฒนามาตรฐานทำให้ประชาชนได้รับอาหารปลอดภัยในการบริโภคอาหารมากยิ่งขึ้น 2.แผงจำหน่ายอาหารสินค้าได้มาตรฐานตามหลักเกณฑ์สุขาภิบาลฯ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้ประกอบการมีความรู้ความสามารถนำไปปฏบัติได้
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของผู้ประกอบการมีความรู้เกี่ยวกับสุขาภิบาลอาหารและสามารถนำไปปฏิบัติได้

 

2 2.เพื่อให้แผงลอยผ่านมาตรฐานหลักเกณฑ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 แผงลอยผ่านมาตรฐานหลักเกณฑ์

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 210
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 210
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ประกอบการมีความรู้ความสามารถนำไปปฏบัติได้ (2) 2.เพื่อให้แผงลอยผ่านมาตรฐานหลักเกณฑ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ขั้นเตรียมการ (2) 2. ขั้นดำเนินการ (3) ขั้นสรุปผล -  ติดตามประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาคุณภาพแผงลอยบทบาทวิถี ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางทรงสิริมะลีวัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด