โครงการสตรียุคใหม่ใส่ใจมะเร็ง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสตรียุคใหม่ใส่ใจมะเร็ง ”
เทศบาลเมืองบ้านพรุ
หัวหน้าโครงการ
งานป้องกันและควบคุมโรคกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองบ้านพรุ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการสตรียุคใหม่ใส่ใจมะเร็ง
ที่อยู่ เทศบาลเมืองบ้านพรุ จังหวัด
รหัสโครงการ 66-L5278-1-10 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสตรียุคใหม่ใส่ใจมะเร็ง จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาลเมืองบ้านพรุ
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสตรียุคใหม่ใส่ใจมะเร็ง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสตรียุคใหม่ใส่ใจมะเร็ง " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาลเมืองบ้านพรุ รหัสโครงการ 66-L5278-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 146,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
มะเร็งปากมดลูก เป็นมะเร็งที่พบเป็นอันดับสองของมะเร็งในหญิงไทย พบได้ในผู้หญิงตั้งแต่วัยสาวถึงวัยชรา พบมากในช่วงอายุ ๓๐ - ๕๐ ปี โดยทุก ๆ ๒ นาที จะมีผู้หญิงเสียชีวิต ๑ คน ขณะที่หญิงไทยมีอัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จาก ๗ คน/วัน เป็น ๑๔ คน/วัน เสียชีวิตประมาณ ๔,๕๐๐ คน/ปี โดยในแต่ละปีจะมีหญิงไทยได้รับการวินิจฉัยเป็นมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ประมาณ ๘,๐๐๐ ราย/ปี ซึ่งร้อยละ ๔๐ - ๕๐ จะเสียชีวิตจากโรค และมีแนวโน้มจะสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยหญิงไทยส่วนใหญ่คิดว่าตัวเองไม่ใช่กลุ่มเสี่ยง และมักเกิดความอายความกลัวที่จะไปพบแพทย์เพื่อตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ดังนั้นกว่าจะรู้ตัวว่ามีอาการผิดปกติ ความรุนแรงของโรคก็มักอยู่ในระยะลุกลามโดยโรคมะเร็งปากมดลูกนั้นสามารถป้องกันและรักษาให้หายขาดได้ถ้าพบผู้ป่วยโรคมะเร็งในระยะเริ่มแรก ร้อยละ ๓๐ – ๔๐ สามารถป้องกันได้ ด้วยการลดพฤติกรรมเสี่ยง และหากได้รับการตรวจคัดกรอง มะเร็งที่เหมาะสมจะสามารถป้องกันและได้รับการรักษาได้ทันท่วงที และอาจลดการตรวจลงเหลือเพียงตรวจทุก ๒ – ๓ ปี ดังนั้น ถ้าสามารถกระตุ้นให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโรคดังกล่าว พร้อมทั้งตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มแรก ก็จะทำให้อัตราการเกิดโรค อัตรา การป่วยและอัตราการตายจากโรคมะเร็งลดลง
จากผลการดำเนินงานปี ๒๕๖๕ ที่ผ่านมา เทศบาลเมืองบ้านพรุ ได้ส่งต่อให้บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด จำนวน ๒๓๕ ราย ในจำนวนนี้มีผู้รับบริการรายเก่า จำนวน ๒๐๕ ราย คิดเป็นร้อยละ ๘๗.๒๓ ของผู้รับบริการทั้งหมด ผู้รับบริการรายใหม่ จำนวน ๓๐ รายคิดเป็นร้อยละ ๑๒.๗๗ ของผู้รับบริการทั้งหมด พบเซลล์ผิดปกติ จำนวน ๑ ราย คิดเป็น ร้อยละ ๐.๔๓ พูดคุยให้กำลังใจ ให้คำแนะนำ และส่งต่อโรงพยาบาลตามสิทธิการรักษา มีผลการตรวจปกติ ไม่พบเซลล์มะเร็ง จำนวน ๒๓๔ ราย คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๕๗ ในจำนวนนี้จำแนกตามเชื้อที่พบได้ให้คำแนะนำและการรักษา
งานป้องกันและควบคุมโรค ฯ เทศบาลเมืองบ้านพรุ จึงได้จัดทำโครงการสตรียุคใหม่ใส่ใจมะเร็ง ประจำปี ๒๕๖๖ ขึ้น เพื่อติดตามการตรวจสุขภาพอย่างต่อเนื่องของผู้รับบริการ โดยเน้นการตรวจ Pap Smear เชิงรุกค้นหาเซลล์มะเร็งได้ในระยะเริ่มแรก เพื่อการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคด้วยซึ่งจะเป็นแนวทางในการสกัดโรคก่อนลุกลาม และสร้างเสริมสุขภาพ คนบ้านพรุห่างไกลโรคด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลด ภาวะเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ ของเยาวชน (อายุ 16-19 ปี)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้
- กิจกรรมคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก
- ประชาสัมพันธ์ให้ความรุ้
- คัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
1,165
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สามารถค้นหาความผิดปกติของเซลล์มะเร็งที่ปากมดลูกในระยะเริ่มแรกได้
2. สตรีกลุ่มเป้าหมายทุกคน ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกต่อเนื่อง อย่างน้อย 3 ปี
3. สตรีกลุ่มเป้าหมายทุกคนตระหนักในการตรวจมะเร็งปากมดลูกทุก 5 ปี
4. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างถูกวิธี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชาสัมพันธ์ให้ความรุ้
วันที่ 9 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ให้ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองบ้านพรุ ทราบเพื่อเข้าร่วมโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สตรีกลุ่มเป้าหมาย เข้าร่วมโครงการ
300
0
2. คัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชาชนได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธีการ Pap Smear กับโรงพยาบาลมิตรสามัคคี ทั้งหมด จำนวน 233 ราย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
300
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประชาชนได้รับตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธีการ Pap smear กับโรงพยาบาลมิตรภาพสามัคคี ทั้งหมด จำนวน 233 ราย ในจำนวนนี้มีผู้รับบริการรายเก่า จำนวน 198 ราย คิดเป็นร้อยละ 84.98 ของผู้รับบริการทั้งหมด ผู้รับบริการรายใหม่ จำนวน 35 ราย คิดเป็นร้อยละ15.02 ของผู้รับบริการทั้งหมด พบเซลล์ผิดปกติ จำนวน 4 ราย คิดเป็น ร้อยละ1.72 ผลการตรวจปกติ ไม่พบเซลล์มะเร็ง จำนวน 229 ราย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลด ภาวะเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ ของเยาวชน (อายุ 16-19 ปี)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเยาวชน (อายุ 16-19 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ ลดลง
10.15
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1165
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
1,165
233
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลด ภาวะเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ ของเยาวชน (อายุ 16-19 ปี)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ (2) กิจกรรมคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก (3) ประชาสัมพันธ์ให้ความรุ้ (4) คัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสตรียุคใหม่ใส่ใจมะเร็ง จังหวัด
รหัสโครงการ 66-L5278-1-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( งานป้องกันและควบคุมโรคกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองบ้านพรุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสตรียุคใหม่ใส่ใจมะเร็ง ”
เทศบาลเมืองบ้านพรุ
หัวหน้าโครงการ
งานป้องกันและควบคุมโรคกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองบ้านพรุ
กันยายน 2566
ที่อยู่ เทศบาลเมืองบ้านพรุ จังหวัด
รหัสโครงการ 66-L5278-1-10 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสตรียุคใหม่ใส่ใจมะเร็ง จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาลเมืองบ้านพรุ
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสตรียุคใหม่ใส่ใจมะเร็ง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสตรียุคใหม่ใส่ใจมะเร็ง " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาลเมืองบ้านพรุ รหัสโครงการ 66-L5278-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 146,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
มะเร็งปากมดลูก เป็นมะเร็งที่พบเป็นอันดับสองของมะเร็งในหญิงไทย พบได้ในผู้หญิงตั้งแต่วัยสาวถึงวัยชรา พบมากในช่วงอายุ ๓๐ - ๕๐ ปี โดยทุก ๆ ๒ นาที จะมีผู้หญิงเสียชีวิต ๑ คน ขณะที่หญิงไทยมีอัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จาก ๗ คน/วัน เป็น ๑๔ คน/วัน เสียชีวิตประมาณ ๔,๕๐๐ คน/ปี โดยในแต่ละปีจะมีหญิงไทยได้รับการวินิจฉัยเป็นมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ประมาณ ๘,๐๐๐ ราย/ปี ซึ่งร้อยละ ๔๐ - ๕๐ จะเสียชีวิตจากโรค และมีแนวโน้มจะสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยหญิงไทยส่วนใหญ่คิดว่าตัวเองไม่ใช่กลุ่มเสี่ยง และมักเกิดความอายความกลัวที่จะไปพบแพทย์เพื่อตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ดังนั้นกว่าจะรู้ตัวว่ามีอาการผิดปกติ ความรุนแรงของโรคก็มักอยู่ในระยะลุกลามโดยโรคมะเร็งปากมดลูกนั้นสามารถป้องกันและรักษาให้หายขาดได้ถ้าพบผู้ป่วยโรคมะเร็งในระยะเริ่มแรก ร้อยละ ๓๐ – ๔๐ สามารถป้องกันได้ ด้วยการลดพฤติกรรมเสี่ยง และหากได้รับการตรวจคัดกรอง มะเร็งที่เหมาะสมจะสามารถป้องกันและได้รับการรักษาได้ทันท่วงที และอาจลดการตรวจลงเหลือเพียงตรวจทุก ๒ – ๓ ปี ดังนั้น ถ้าสามารถกระตุ้นให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโรคดังกล่าว พร้อมทั้งตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มแรก ก็จะทำให้อัตราการเกิดโรค อัตรา การป่วยและอัตราการตายจากโรคมะเร็งลดลง
จากผลการดำเนินงานปี ๒๕๖๕ ที่ผ่านมา เทศบาลเมืองบ้านพรุ ได้ส่งต่อให้บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด จำนวน ๒๓๕ ราย ในจำนวนนี้มีผู้รับบริการรายเก่า จำนวน ๒๐๕ ราย คิดเป็นร้อยละ ๘๗.๒๓ ของผู้รับบริการทั้งหมด ผู้รับบริการรายใหม่ จำนวน ๓๐ รายคิดเป็นร้อยละ ๑๒.๗๗ ของผู้รับบริการทั้งหมด พบเซลล์ผิดปกติ จำนวน ๑ ราย คิดเป็น ร้อยละ ๐.๔๓ พูดคุยให้กำลังใจ ให้คำแนะนำ และส่งต่อโรงพยาบาลตามสิทธิการรักษา มีผลการตรวจปกติ ไม่พบเซลล์มะเร็ง จำนวน ๒๓๔ ราย คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๕๗ ในจำนวนนี้จำแนกตามเชื้อที่พบได้ให้คำแนะนำและการรักษา
งานป้องกันและควบคุมโรค ฯ เทศบาลเมืองบ้านพรุ จึงได้จัดทำโครงการสตรียุคใหม่ใส่ใจมะเร็ง ประจำปี ๒๕๖๖ ขึ้น เพื่อติดตามการตรวจสุขภาพอย่างต่อเนื่องของผู้รับบริการ โดยเน้นการตรวจ Pap Smear เชิงรุกค้นหาเซลล์มะเร็งได้ในระยะเริ่มแรก เพื่อการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคด้วยซึ่งจะเป็นแนวทางในการสกัดโรคก่อนลุกลาม และสร้างเสริมสุขภาพ คนบ้านพรุห่างไกลโรคด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลด ภาวะเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ ของเยาวชน (อายุ 16-19 ปี)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้
- กิจกรรมคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก
- ประชาสัมพันธ์ให้ความรุ้
- คัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 1,165 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สามารถค้นหาความผิดปกติของเซลล์มะเร็งที่ปากมดลูกในระยะเริ่มแรกได้
2. สตรีกลุ่มเป้าหมายทุกคน ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกต่อเนื่อง อย่างน้อย 3 ปี
3. สตรีกลุ่มเป้าหมายทุกคนตระหนักในการตรวจมะเร็งปากมดลูกทุก 5 ปี
4. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างถูกวิธี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชาสัมพันธ์ให้ความรุ้ |
||
วันที่ 9 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ให้ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองบ้านพรุ ทราบเพื่อเข้าร่วมโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสตรีกลุ่มเป้าหมาย เข้าร่วมโครงการ
|
300 | 0 |
2. คัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก |
||
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชาชนได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธีการ Pap Smear กับโรงพยาบาลมิตรสามัคคี ทั้งหมด จำนวน 233 ราย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
|
300 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประชาชนได้รับตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธีการ Pap smear กับโรงพยาบาลมิตรภาพสามัคคี ทั้งหมด จำนวน 233 ราย ในจำนวนนี้มีผู้รับบริการรายเก่า จำนวน 198 ราย คิดเป็นร้อยละ 84.98 ของผู้รับบริการทั้งหมด ผู้รับบริการรายใหม่ จำนวน 35 ราย คิดเป็นร้อยละ15.02 ของผู้รับบริการทั้งหมด พบเซลล์ผิดปกติ จำนวน 4 ราย คิดเป็น ร้อยละ1.72 ผลการตรวจปกติ ไม่พบเซลล์มะเร็ง จำนวน 229 ราย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลด ภาวะเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ ของเยาวชน (อายุ 16-19 ปี) ตัวชี้วัด : ร้อยละของเยาวชน (อายุ 16-19 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ ลดลง |
10.15 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1165 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 1,165 | 233 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลด ภาวะเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ ของเยาวชน (อายุ 16-19 ปี)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ (2) กิจกรรมคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก (3) ประชาสัมพันธ์ให้ความรุ้ (4) คัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสตรียุคใหม่ใส่ใจมะเร็ง จังหวัด
รหัสโครงการ 66-L5278-1-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( งานป้องกันและควบคุมโรคกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองบ้านพรุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......