กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการคัดกรอง ค้นหา กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงบ้านควน ปี 2566 ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางปทุมมาศ โลหะจินดา

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรอง ค้นหา กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงบ้านควน ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5307-1-07 เลขที่ข้อตกลง 26/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 30 มิถุนายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรอง ค้นหา กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงบ้านควน ปี 2566 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรอง ค้นหา กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงบ้านควน ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรอง ค้นหา กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงบ้านควน ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5307-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 30 มิถุนายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,836.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบัน สถานภาพด้านสุขภาพและแบบแผนพฤติกรรมและการเจ็บป่วยของประชาชนเปลี่ยนไปดังจะเห็นได้จากการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มีผู้รับบริการที่เพิ่มมากขึ้น สาเหตุหลักๆเกิดจาก พันธุกรรมสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม และสุขวิทยาส่วนบุคคลมีแนวโน้มลดลง แต่การเจ็บป่วยด้วยโรคที่ไม่ติดต่อเรื้อรังอันเกี่ยวเนื่องมาจากพฤติกรรมและวิถีชีวิตกลับมีแนวโน้มสูงขึ้น เช่น การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคเบาหวานและอุบัติเหตุ ที่มีอัตราการเกิดโรคเพิ่มสูงขึ้นและเป็นสาเหตุการตายในอันดับต้นๆ ของประเทศ โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นกลุ่มโรคเรื้อรังที่มีจำนวนผู้ป่วยมากที่สุดเป็นอันดับ 1 ของ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลบ้านควน มีผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่รับบริการในคลินิกโรคเรื้อรัง จำนวน328 คนซึ่งผู้ป่วยในคลินิกมีแนวโน้มที่มากขึ้นทุกปี โดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูงกลุ่มป่วยรายใหม่ส่วนใหญ่ร้อยละ 90 มาจากกลุ่มเสี่ยง ที่ได้จากการคัดกรองโดยแกนนำ อสม.ในแต่ละปี ดังนั้นการควบคุมการเกิดโรคดังกล่าว ต้องเน้นการทำงานเชิงรุกเพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงดูแลให้ได้รับการติดตามภาวะสุขภาพต่อเนื่อง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยเน้น 3อ.3ล. คือ อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย ลดบุหรี่ลดสุราและลดความอ้วนเพื่อให้กลุ่มเสี่ยงดังกล่าวไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่นอกจากนี้การคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชนแบบเชิงรุกยังเป็นการค้นหากลุ่มสงสัยป่วยดูแลให้ได้รับการติดตามภาวะสุขภาพและส่งต่อให้ได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์ โดยเร็วที่สุดเพื่อลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลบ้านควนจึงจัดทำโครงการคัดกรอง ค้นหา กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ตำบลบ้านควน ปี 2566 ขึ้น เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยดูแลให้ได้รับบริการตามแนวทางการควบคุมโรคลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ นอกจากนี้ประชาชนมีความรู้ในเรื่องของการดูแลสุขภาพตลอดจนสร้างความตระหนักในการเฝ้าระวัง รู้เท่าทันสุขภาพตนเองให้ความร่วมมือและสนใจการให้บริการตรวจคัดกรองสุขภาพในชุมชนทุกๆปีโดยแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขเพื่อการมีสุขภาพที่ดีของคนในชุมชนตำบลบ้านควน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ดูแล ติดตาม เฝ้าระวัง ไม่ให้กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่
  3. เพื่อค้นหากลุ่มสงสัยป่วย ส่งต่อให้ได้รับการดูแลและได้รับการวินิจฉัยเร็วที่สุด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กลุ่มสงสัยป่วย ได้รับการติดตามสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่ และได้รับการวินิจฉัยเป็นผู้ป่วยรายใหม่
  2. อบรมให้ความรู้และติดตามภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน
  3. ออกหน่วยรณรงค์และให้บริการคัดกรองภาวะสุขภาพในในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 2,100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป เข้าถึงบริการ ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เฝ้าระวังภาวะสุขภาพตนเอง เป็นประจำอย่างต่อเนื่องทุกๆปี
  2. กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการส่งต่อข้อมูลไปยังแกนนำ อสม.ในเขตรับผิดชอบได้รับการดูแล ติดตาม เฝ้าระวังภาวะสุขภาพ ส่งเสริมความรู้ในเรื่อง 3อ.3ล. และ กลุ่มเสี่ยงสามารถประเมินสุขภาพเบื้องต้นของตนเองได้เมื่อกลุ่มเสี่ยงสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิต อยู่ในเกณฑ์ปกติ ส่งผลให้อัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ลดลง.
  3. กลุ่มสงสัยป่วย ที่ได้รับการส่งต่อพบเจ้าหน้าที่ได้รับการติดตามสุขภาพจากเจ้าหน้าที่ กรณีที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิต ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ จะได้รับการส่งต่อพบแพทย์ เพื่อได้รับการวินิจฉัยโดยเร็วที่สุด ได้รับการส่งต่อเข้าระบบคลินิกโรคเรื้อรัง และได้รับการติดตามสุขภาพต่อเนื่อง เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กลุ่มสงสัยป่วย ได้รับการติดตามสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่ และได้รับการวินิจฉัยเป็นผู้ป่วยรายใหม่

วันที่ 1 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จากการดำเนินกิจกรรมโครงการคัดกรอง ค้นหา ภาวะเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยโรคเบาหวานและฌรคความดันโลหิตสูงได้รับการคัดกรองค้นหาความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและโรคหลอดเลือดสมอง ร้อยละ 100

 

0 0

2. ออกหน่วยรณรงค์และให้บริการคัดกรองภาวะสุขภาพในในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป

วันที่ 1 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รณรงค์คัดกรองความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและดรคหลอดเลือดสมอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงทุกคน มีความรู้เพิ่มขึ้นรู้เท่าทันสุขภาพตนเอง สามารถจัดการตนเองได้ กรณีเกิดอาการผิดปกติ

 

0 0

3. อบรมให้ความรู้และติดตามภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน

วันที่ 1 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้และติดตามภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรู้เท่าทันสุขภาพตนเอง สามารถจัดการตนเองได้ กรณีเกิดอาการผิดปกติ ร้อยละ 100

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 95
90.00 95.00 100.00

 

2 เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ดูแล ติดตาม เฝ้าระวัง ไม่ให้กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่ น้อยกว่าร้อยละ 5
5.00 0.00 5.00

 

3 เพื่อค้นหากลุ่มสงสัยป่วย ส่งต่อให้ได้รับการดูแลและได้รับการวินิจฉัยเร็วที่สุด
ตัวชี้วัด : กลุ่มสงสัยป่วย ได้รับการส่งต่อพบเจ้าหน้าที่ ได้รับการดูแลและได้รับการวินิจฉัยเร็วที่สุด ร้อยละ 100
70.00 100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2100 2100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 2,100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ดูแล ติดตาม เฝ้าระวัง ไม่ให้กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่ (3) เพื่อค้นหากลุ่มสงสัยป่วย ส่งต่อให้ได้รับการดูแลและได้รับการวินิจฉัยเร็วที่สุด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กลุ่มสงสัยป่วย ได้รับการติดตามสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่ และได้รับการวินิจฉัยเป็นผู้ป่วยรายใหม่ (2) อบรมให้ความรู้และติดตามภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน (3) ออกหน่วยรณรงค์และให้บริการคัดกรองภาวะสุขภาพในในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรอง ค้นหา กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงบ้านควน ปี 2566 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5307-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปทุมมาศ โลหะจินดา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด