กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการดูแลและห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุ(ชราธิวาส)และผู้มีภาวะพึงพิงและการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายปี 2566
รหัสโครงการ 66-L2497-1-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะปอเยาะ
วันที่อนุมัติ 1 ธันวาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2565 - 31 กรกฎาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 สิงหาคม 2567
งบประมาณ 51,390.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางฮามีดะห์ ตวันตีมุง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ รพ.ส ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 149 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุ (Aging Society) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 ตามคำนิยามขององค์การสหประชาชาติที่กำหนดสัดส่วนของประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 10 ของจำนวนประชากร ซึ่งจะเข้าสู่สังคมสูงอายุโดยสมบูรณ์ (Complete - Aging Society) เมื่อมีสัดส่วนของประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปเกินร้อยละ 20 และเข้าสู่สังคมสูงอายุระดับสุดยอด (Super - Aging Society) เมื่อมีสัดส่วนของประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปเกินร้อยละ 28 ตามลำดับ พบว่า ผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี การคัดกรองผู้สูงอายุจำแนกตามความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของรพ.สต.ตะปอเยาะ ปี2565 พบว่า ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (Barthel Activities of Daily Living : ADL) ร้อยละ 93.65 , 94.21 และ 96.25 ผลจากการคัดกรองฯ ผู้สูงอายุส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มติดสังคม ร้อยละ 97.15, 94.21 และ 97.26 รองลงมาเป็นผู้สูงอายุติดบ้าน ร้อยละ 2.24,3.70 และ 1.17 และกลุ่มติดเตียงพบร้อยละ0.61,0.42 และ 0.58ภารกิจหลักในการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อผู้สูงอายุในทุกระดับ บนฐานข้อมูลและองค์ความรู้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย (GOAL) “ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” พร้อมทั้งสนับสนุนให้ผู้สูงอายุที่และผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลบริการด้านสาธารณสุขถึงที่บ้านอย่างต่อเนื่อง โดยการอบรมพัฒนาทักษะผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และนักอาสาบริบาลในชุมชน จิตอาสาในชุมชน ชมรมผู้สูงอายุ โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น ในการขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุให้บรรลุเป้าหมาย แผนงานบูรณาการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสังคมสูงวัย ทางรพ.สต.ตะปอเยาะได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการดูแลและห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุ(ชราธิวาส)และผู้มีภาวะพึงพิงและการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายปี 2566 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล และฟื้นฟูสุขภาพในชุมชนอย่างทั่วถึงเท่าเทียม เสริมสร้างความเสมอภาคเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุไทยมีสุขภาวะที่ดีในปัจจุบันและอนาคตต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้อย่างต่อเนื่องในการดูแลสุขภาพกายและใจ

ร้อยละ50 ของชมรมผู้สูงอายุมีการวางแผน well ness  plan

20.00 50.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 51,390.00 4 51,390.00
1 ธ.ค. 65 - 31 ก.ค. 66 1จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุติดสังคมเรื่อง การดูแลสุขภาพที่จำเป็นการทานอาหารเป็นยา ไม่หลง ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า ทานข้าวอร่อย 0 32,300.00 32,300.00
1 ธ.ค. 65 - 31 ก.ค. 66 กิจกรรมที่2ประชุมชี้แจงแผนการดำเนินงาน ชมรมผู้สูงอายุแก่คณะทำงาน 0 1,680.00 1,680.00
1 ธ.ค. 65 - 31 ก.ค. 66 กิจกรรมที่3จัดกิจกรรมพร้อมให้ความรู้ตรวจสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ 0 8,210.00 8,210.00
1 ธ.ค. 65 - 31 ก.ค. 66 กิจกรรม 4 จัดอบรมให้ความรู้กับญาติหรือผู้ดูแลผู้สูงอายุในการดูแลผู้มีภาวะพึงพิงและการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 0 9,200.00 9,200.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพตามเกณท์ ๒.ผู้สูงอายุได้รับความรู้อย่างต่อเนื่องในการดูแลสุขภาพกายและใจ 3.มีการขับเคลื่อนการดำเนินกิจกรรมชมรมผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง ตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุ ทั้งในด้านสุขภาพ สังคม และสวัสดิการ 4.ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากที่ดี 5.เครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลผู้มีภาวะพึงพิงและการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 พ.ย. 2565 14:51 น.