กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว


“ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายไทเก๊ก เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ”

ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสนธยา ประหยัดวงศ์ ตำแหน่งประธานชมรมไทเก๊กเทศบาลตำบลย่านตาขาว

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายไทเก๊ก เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

ที่อยู่ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L8291-2-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายไทเก๊ก เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายไทเก๊ก เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายไทเก๊ก เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L8291-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 พฤศจิกายน 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,346.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ไทเก๊กหรือการฝึกพลังลมปราณ เป็นการบริหารร่างกายและทำสมาธิ เพื่อนำสิ่งที่เรียกว่า “ชี่” หรือลมปราณไปปรับดุลยภาพของยินหยางในร่างกาย ทำให้อวัยวะและส่วนต่างๆ ของร่างกายทำงานเป็นธรรมชาติถือว่าเป็นดุลยภาพบำบัดอย่างหนึ่ง การฝึกไท้เก๊กด้วยการนึกจินตนาการว่ากำลังกลิ้งลูกกลมสีต่างๆ ก็เป็นการบริหารร่างกายควบคู่กับการทำสมาธิด้วยเช่นกัน เพื่อนำพลังแห่งยินหยาง (พลังดุลยภาพของร่างกาย) ไปป้องกันบำบัดโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ และช่วยให้มีอายุวัฒนะและการฝึกยังคงยึดหลักการเบื้องต้นของการบำบัดโรคด้วย “ชี่กง” หรือการบำบัดโรคด้วยการฝึกพลังลมปราณไว้เช่นเดิม มีหลักการการเคลื่อนไหวอย่างมีจังหวะการถ่วงดุลอย่างถูกต้องของน้ำหนักของ ร่างกายและการหายใจโดยไม่ต้องออกแรง  และมวยไทเก๊กถือเป็นการออกกำลังกายอย่างหนึ่ง มีลักษณะนิ่มนวล โอนอ่อน ผ่อนคลาย การเคลื่อนไหวลื่นไหลต่อเนื่องกับการหายใจ พร้อมต้องตั้งจิตติดตามการเคลื่อนไหวของร่างกายตลอด ทำให้เกิดสมาธิ เนื่องจากไม่มีการเกร็งกล้ามเนื้อ หรือการออกแรงกระแทก จึงมีโอกาสเกิดการบาดเจ็บน้อย เมื่อเทียบกับกีฬาที่ใช้แรงชนิดอื่นๆ ทำให้เหมาะสมกับคนทุกเพศทุกวัย ประโยชน์ที่ได้รับนอกจากทำให้สุขภาพแข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ ยังเป็นศิลปะป้องกันตัวได้ ถ้าหากได้รับการฝึกฝน ซึ่งมีหลายกระบวนท่า     ชมรมไทเก๊กเทศบาลตำบลย่านตาขาว มีการออกกำลังกายด้วยการรำไทเก๊ก มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547      (1 พ.ย. 2547) ซึ่งมีท่ารำประจำ อาทิ การบริหารไขข้อ 25 ท่า , ซี่กงลมปราณ 18 ท่า ซึ่งเป็นท่ารำส่วนหนึ่งของการรำมวยไทเก๊ก สำหรับรำไทเก๊ก 24 ท่า เป็นท่ารำมาตรฐานสากล สมาชิกของชมรมไทเก๊กเทศบาลตำบลย่านตาขาว ยังไม่มีการเรียนรู้และฝึกหัดท่าทางการรำ จึงจำเป็นต้องจัดอบรมให้ความรู้ พร้อมฝึกปฏิบัติเรียนรู้ และฝึกท่ารำของไทเก๊ก 24 ท่า อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลย่านตาขาว
    ดังนั้น ชมรมไทเก๊กเทศบาลตำบลย่านตาขาว เล็งเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างสุขภาพกายและสุขภาพใจที่ดี จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายไทเก๊กเพื่อสุขภาพ ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. - เพื่อให้สมาชิกชมรม และประชาชน ทราบประโยชน์ของการฝึกลมหายใจ จิต สมาธิและไทเก๊ก ซึ่งส่งผลดีต่อสุขภาพกาย สุขภาพจิตใจ สร้างเสริมภูมิคุ้มกัน บรรเทาอาการปวดข้อ ปวดหลัง ผ่อนคลายความตึงเครียด ช่วยให้นอนหลับหรือนอนหลับง่ายขึ้น
  2. - สมาชิกชมรม และประชาชนสามารถฝึกการออกกำลังกายไทเก๊กได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ส่งเสริมการออกกำลังกายไทเก๊ก เพื่อสุขภาพ
  2. ฝึกปฏิบัติออกกำลังกายไทเก๊กและกิจกรรมเสริมอื่นๆ
  3. ฝึกอบรม ให้ความรู้ เรื่องการออกกำลังกายไทเก๊ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • สมาชิกชมรมและประชาชน มีความรู้เรื่อง ลมหายใจ จิต สมาธิ และไทเก๊กเพื่อสุขภาพ
  • สมาชิกชมรมและประชาชน สามารถออกกำลังกายไทเก๊กได้
  • สมาชิกชมรมและประชาชน มีสุขภาพกายและสุขภาพใจที่แข็งแรง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ฝึกปฏิบัติออกกำลังกายไทเก๊กและกิจกรรมเสริมอื่นๆ

วันที่ 17 พฤศจิกายน 2565 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.  ประชุมคณะกรรมการ และผู้เกี่ยวข้อง 2. เขียนโครงการเพื่ออนุมัติการดำเนินการ
3.  กำหนดกิจกรรม และจัดทำตารางกิจกรรม
4.  ประสานขอใช้สถานที่ฝึกอบรม 5.  ติดต่อประสานวิทยากร 6.  ประชาสัมพันธ์แจ้งสมาชิกชมรม และประชาชนในเขตเทศบาล 7.  ดำเนินงานตามโครงการ
8.  ประเมินผลโครงการและจัดทำรายงานสรุปผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จากการสาธิตย้อนกลับ โดยการฝึกปฏิบัติรำไทเก๊กเป็นเวลา 10 เดือน เดือนละ 18 ครั้ง พบว่าสมาชิกชมรมและประชาชนที่เข้าร่วมฝึกไทเก๊ก สามารถออกกำลังกายไทเก๊กได้ถูกต้อง
  2. จากการเก็บข้อมูลน้ำหนักและดัชนีมวลกาย สมาชิกชมรม จำนวน 42 คน ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ พบว่าสมาชิกที่มีนำหนักคงที่และลดลง มีจำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 100

 

0 0

2. ฝึกอบรม ให้ความรู้ เรื่องการออกกำลังกายไทเก๊ก

วันที่ 18 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมคณะกรรมการ และผู้เกี่ยวข้อง
  2. เขียนโครงการเพื่ออนุมัติการดำเนินการ
  3. กำหนดกิจกรรม และจัดทำตารางกิจกรรม
  4. ประสานขอใช้สถานที่ฝึกอบรม
  5. ติดต่อประสานวิทยากร
  6. ประชาสัมพันธ์แจ้งสมาชิกชมรม และประชาชนในเขตเทศบาล
  7. ดำเนินงานตามโครงการ
  8. ประเมินผลโครงการและจัดทำรายงานสรุปผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการทำแบบประเมินความรู้ก่อนและหลังอบรม พบว่า สมาชิกชมรมและประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับลมหายใจ จิต สมาธิและการออกกำลังกายไทเก๊ก เพิ่มขึ้นร้อยละ 96

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 - เพื่อให้สมาชิกชมรม และประชาชน ทราบประโยชน์ของการฝึกลมหายใจ จิต สมาธิและไทเก๊ก ซึ่งส่งผลดีต่อสุขภาพกาย สุขภาพจิตใจ สร้างเสริมภูมิคุ้มกัน บรรเทาอาการปวดข้อ ปวดหลัง ผ่อนคลายความตึงเครียด ช่วยให้นอนหลับหรือนอนหลับง่ายขึ้น
ตัวชี้วัด : - สมาชิกชมรมและประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลมหายใจ จิต สมาธิ และการออกกำลังกายไทเก๊ก เพิ่มขึ้นร้อยละ 80
96.00

 

2 - สมาชิกชมรม และประชาชนสามารถฝึกการออกกำลังกายไทเก๊กได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ
ตัวชี้วัด : - สมาชิกชมรม และประชาชน สามารถออกกำลังกายไทเก๊กได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ ร้อยละ 80 - สมาชิกสามารถควบคุมน้ำหนักได้ ร้อยละ 80
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 10 10
กลุ่มผู้สูงอายุ 40 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) - เพื่อให้สมาชิกชมรม และประชาชน ทราบประโยชน์ของการฝึกลมหายใจ จิต สมาธิและไทเก๊ก ซึ่งส่งผลดีต่อสุขภาพกาย สุขภาพจิตใจ สร้างเสริมภูมิคุ้มกัน บรรเทาอาการปวดข้อ ปวดหลัง ผ่อนคลายความตึงเครียด ช่วยให้นอนหลับหรือนอนหลับง่ายขึ้น (2) - สมาชิกชมรม และประชาชนสามารถฝึกการออกกำลังกายไทเก๊กได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่งเสริมการออกกำลังกายไทเก๊ก เพื่อสุขภาพ (2) ฝึกปฏิบัติออกกำลังกายไทเก๊กและกิจกรรมเสริมอื่นๆ (3) ฝึกอบรม ให้ความรู้ เรื่องการออกกำลังกายไทเก๊ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายไทเก๊ก เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

รหัสโครงการ 66-L8291-2-03 ระยะเวลาโครงการ 17 พฤศจิกายน 2565 - 30 กันยายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายไทเก๊ก เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L8291-2-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสนธยา ประหยัดวงศ์ ตำแหน่งประธานชมรมไทเก๊กเทศบาลตำบลย่านตาขาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด