กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาตาล่วง


“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาตาล่วง ประจำปี 2566 ”

ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุทิพจารุ์ เผือกชาย นักวิชาการสุขาภิบาลชำนาญการรักษาราชการแทน ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาตาล่วง ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1491-04-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาตาล่วง ประจำปี 2566 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาตาล่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาตาล่วง ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาตาล่วง ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L1491-04-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 99,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาตาล่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของ  ประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กรและภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ โดยสามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชน นอกจากมีเจตนารมณ์ในการสร้างการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เข้ามามีบทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่แล้ว ยังสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ และส่งเสริมให้บุคลากรด้านสาธารณสุขในพื้นที่ได้แสดงบทบาทในการสนับสนุนประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเอง ทั้งนี้ยังส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองและการสร้างกลไกในสังคมที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ปัญหาต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วง
สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในบทบัญญัติของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545    มาตรา 13 (3) มาตรา 18 (4) (8) (9) และมาตรา 47 ได้กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุน ประสานและกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสมและ    ความต้องการ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุนรวมถึงสนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน และภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์ เพื่อแสวงหากำไรดำเนินงาน และบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจึงได้มีการประชุมระดมความคิดเห็นจากหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและผู้ที่เกี่ยวข้อง  เพื่อยกร่างหลักเกณฑ์การสนับสนุนให้องค์การบริหารส่วนตำบลและเทศบาลดำเนินงานบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ซึ่งเทศบาลตำบล นาตาล่วงได้เข้าร่วมทำบันทึกข้อตกลงกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2551 และ ได้ดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาตาล่วงมาแล้วเป็นเวลา ๑๒ ปี กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาตาล่วง จึงได้จัดทำ“โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาตาล่วง ประจำปี 25๖6”ขึ้น เพื่อเป็นการพัฒนากองทุนให้ดำเนินงานไปตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นให้สามารถดำเนินงานและขับเคลื่อนการบริหารจัดการให้สอดคล้องตามประกาศฉบับปรับปรุงใหม่ พ.ศ.2561 ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
  2. เพื่อให้กองทุนมีอุปกรณ์พร้อมใช้สำหรับการปฏิบัติงาน
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนเทศบาลตำบลนาตาล่วง
  4. เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
  5. เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
  6. เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 1
  2. จัดซื้อวัสดุคอมพิวเตอร์และวัสดุสำนักงาน
  3. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
  4. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงนกองทุน และจัดทำแผนสุขภาพชุมชน
  5. ประชุมอนุกรรมการกองทุน ครั้งที่ 1
  6. ประชุมอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1
  7. ประชุมอนุกรรมการกองทุน ครั้งที่ 2
  8. ประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 3
  9. ประชุมอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2
  10. ประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 2
  11. ประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 4

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นให้สามารถดำเนินงานและขับเคลื่อนการบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ
2.แผนงาน หรือโครงการที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
3.กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาตาล่วงผ่านเกณฑ์การประเมินกองทุนฯ จาก สปสช.เขต 12 สงขลา


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมอนุกรรมการกองทุน ครั้งที่ 1

วันที่ 16 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลนาตาล่วง ครั้งที่ 1/2566 เมื่อวันที่ 16 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2565 ในการประชุมครั้งนี้ มีผู้เข้าร่วม จำนวน 12 คน 1. ค่าตอบแทนให้แก่คณะกรรมอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาตาล่วง ที่เข้าร่วมประชุมครั้งที่ 1/2566 เมื่อวันที่ 16 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2565 ในการประชุมครั้งนี้ มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 12 คน  เป็นเงิน 3,600 บาท 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าประชุม จำนวน 12 คนๆละ 30 บาท เป็นเงิน 360 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 3,960 บาท (สามพันเก้าร้อยหกสิบบาทถ้วน)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ

 

13 0

2. ประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 1

วันที่ 17 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ และคณะทำงาน ครั้งที่ 1/2566 เมื่อวันที่ 17 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2565 ในการประชุมครั้งนี้ มีผู้เข้าร่วม จำนวน 23 คน 1. ค่าตอบแทนให้แก่คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาตาล่วง และคณะทำงานฯที่เข้าร่วมประชุมครั้งที่ 1/2566 เมื่อวันที่ 17 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2565 ในการประชุมครั้งนี้ มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 16 คน เป็นเงิน 5,600 บาท 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าประชุม จำนวน 23 คนๆละ 30 บาท เป็นเงิน 690 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 6,290 บาท (หกพันสองร้อยเก้าสิบบาทถ้วน)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อการทำงานที่มีประสิทธิภาพ

 

19 0

3. ประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 2

วันที่ 23 พฤษภาคม 2566 เวลา 14:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้จัดประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 2/2566 เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2566 ในการประชุมครั้งนี้ มีผู้เข้าร่วม จำนวน 30 คน 1.1.ค่าตอบแทนให้แก่คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาตาล่วง ที่เข้าร่วมประชุมครั้งที่ 2/2566 เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2566 ในการประชุมครั้งนี้ มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 15 คน เป็นเงิน 6,000 บาท 1.2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าประชุม จำนวน 30 คนๆละ 30 บาท เป็นเงิน 900 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 6,900 บาท (หกพันเก้าร้อยบาทถ้วน)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาตาล่วง

 

19 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นให้สามารถดำเนินงานและขับเคลื่อนการบริหารจัดการให้สอดคล้องตามประกาศฉบับปรับปรุงใหม่ พ.ศ.2561 ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
ตัวชี้วัด : กองทุนหลักประกันสุขภาพสามารถบริหารจัดการและขับเคลื่อนงานได้อย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพ

 

2 เพื่อให้กองทุนมีอุปกรณ์พร้อมใช้สำหรับการปฏิบัติงาน
ตัวชี้วัด : กองทุนหลักประกันสุขภาพมีอุปกรณ์พร้อมใช้สำหรับการปฏิบัติงานอย่างเพียงพอ

 

3 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนเทศบาลตำบลนาตาล่วง
ตัวชี้วัด : พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาตาล่วงให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

 

4 เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
1.00 4.00

 

5 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 %
1.00

 

6 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน)
3.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นให้สามารถดำเนินงานและขับเคลื่อนการบริหารจัดการให้สอดคล้องตามประกาศฉบับปรับปรุงใหม่ พ.ศ.2561 ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ (2) เพื่อให้กองทุนมีอุปกรณ์พร้อมใช้สำหรับการปฏิบัติงาน (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนเทศบาลตำบลนาตาล่วง (4) เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ (5) เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน (6) เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 1 (2) จัดซื้อวัสดุคอมพิวเตอร์และวัสดุสำนักงาน (3) ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (4) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ  คณะทำงนกองทุน และจัดทำแผนสุขภาพชุมชน (5) ประชุมอนุกรรมการกองทุน ครั้งที่ 1 (6) ประชุมอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1 (7) ประชุมอนุกรรมการกองทุน ครั้งที่ 2 (8) ประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 3 (9) ประชุมอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2 (10) ประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 2 (11) ประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 4

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาตาล่วง ประจำปี 2566 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1491-04-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุทิพจารุ์ เผือกชาย นักวิชาการสุขาภิบาลชำนาญการรักษาราชการแทน ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด