โครงการสูงวัยฟันดี ทานอย่างไรให้อร่อยรพ.สต.บูกิต ปี 2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสูงวัยฟันดี ทานอย่างไรให้อร่อยรพ.สต.บูกิต ปี 2566 ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวยาสมี ลาเตะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการสูงวัยฟันดี ทานอย่างไรให้อร่อยรพ.สต.บูกิต ปี 2566
ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 66-L2479-01-06 เลขที่ข้อตกลง 06/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสูงวัยฟันดี ทานอย่างไรให้อร่อยรพ.สต.บูกิต ปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสูงวัยฟันดี ทานอย่างไรให้อร่อยรพ.สต.บูกิต ปี 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสูงวัยฟันดี ทานอย่างไรให้อร่อยรพ.สต.บูกิต ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2479-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทย ไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2548 โดยมีประชากรผู้สูงอายุ ร้อยละ 10.4 ของประชากรทั้งประเทศ และคาดว่าจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในช่วงปี พ.ศ.2567-2568 (ที่มา: สำนักงานสถิติแห่งชาติ) ทางด้านระบบสาธารณสุขของไทยได้ตระหนักถึงปัญหาด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ หากผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพร่างกายและปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้องก็จะช่วยชะลอความเสื่อมสภาพของร่างกายได้
กลุ่มผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่พบปัญหาสุขภาพช่องปากอย่างชัดเจน ปัญหาสุขภาพช่องปากหลักๆ แบ่งออกเป็น7 ประการ ได้แก่ (1) ฟันผุและรากฟันผุ (2) โรคเหงือกอักเสบและปริทันต์อักเสบ (3) ฟันสึก (4) น้ำลายแห้ง (5) การสูญเสียฟันและปัญหามาจากการใส่ฟันปลอม (6) มีแผลหรือรอยโรคมะเร็งในช่องปาก และ (7) ปัญหาเรื่องการบดเคี้ยว ซึ่งเป็นปัญหาที่ทำให้ผู้สูงอายุต้องมาพบทันตแพทย์ เพราะหากเกิดการสูญเสียฟันไปแล้วจะส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจของผู้สูงอายุเป็นอย่างมาก ทั้งยังส่งผลต่อการดำเนินชีวิตประจำวันด้านบุคลิกภาพ การเข้าสังคม การพูดคุย การเคี้ยวอาหาร การรับรสชาติ เป็นต้น ทั้งนี้ได้มีการกำหนดคุณภาพชีวิตด้านทันตสุขภาพว่าคนเราเมื่ออายุเกิน 60 ปี ควรจะมีฟันที่ใช้งานได้อย่างน้อย 20 ซี่ มีฟันกรามสบกันดีทั้งซ้ายขวา อย่างน้อยข้างละ 2 คู่ นอกจากนี้ยังต้องมีเหงือกแข็งแรงไม่เป็นโรคเหงือกอักเสบ จึงจะถือว่าเป็นผู้มีสุขภาพช่องปากดี
ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบูกิต จึงได้จัดโครงการสูงวัยฟันดี ทานอย่างไรให้อร่อย รพ.สต.บูกิต ปี 256๖ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะที่ถูกต้องเหมาะสมสำหรับดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง ตลอดจนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพช่องปาก สู่การมีสุขภาพช่องปากดียั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อให้ผู้เข้ารวมอบรมได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้ฝึกทักษะการแปรงฟันอย่างสะอาด และถูกวิธีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕o
- เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้ (กรณีพึ่งพาตนเอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมจับผิดภาพ อาหารที่มีประโยชน์ต่อฟันเเละโทษต่อฟัน
- อบรมให้ความรู้ โครงการสูงวัยฟันดี ทานอย่างไรให้
- จัดกิจกรรมฝึกแปรงฟันแก่ผู้สูงอายุ โดยการย้อมสีฟัน ก่อนและหลังแปรงฟัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้และทักษะการดูแล
๒.ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถแปรงฟันได้อย่างสะอาดและถูกวิธี
๓.ผู้เข้าอบรมมีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้ ตลอดจนสามารถลดปัจจัยเสี่ยงในการเกิด
โรคฟันผุ โรคปริทันต์ และโรคอื่นๆในช่องปาก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมจับผิดภาพ อาหารทีมีประโยชน์ต่อฟันเเละโทษต่อฟัน
วันที่ 22 มิถุนายน 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
คัดกรองตรวจสุขภาพฟันเดือนละ ๒ ครั้ง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
๒.ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถแปรงฟันได้อย่างสะอาดและถูกวิธี
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑.เพื่อให้ผู้เข้ารวมอบรมได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก
ตัวชี้วัด : ๑. ผู้เข้ารวมอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการตอบแบบสอบถาม หลังการอบรมมากกว่า ก่อนการอบรม
80.00
2
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้ฝึกทักษะการแปรงฟันอย่างสะอาด และถูกวิธีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕o
ตัวชี้วัด : ๒.ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถแปรงฟันสะอาดและถูกวิธีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕o
80.00
3
เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้ (กรณีพึ่งพาตนเอง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าอบรมสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้ผู้เข้ารวมอบรมได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้ฝึกทักษะการแปรงฟันอย่างสะอาด และถูกวิธีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕o (3) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้ (กรณีพึ่งพาตนเอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจับผิดภาพ อาหารที่มีประโยชน์ต่อฟันเเละโทษต่อฟัน (2) อบรมให้ความรู้ โครงการสูงวัยฟันดี ทานอย่างไรให้ (3) จัดกิจกรรมฝึกแปรงฟันแก่ผู้สูงอายุ โดยการย้อมสีฟัน ก่อนและหลังแปรงฟัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสูงวัยฟันดี ทานอย่างไรให้อร่อยรพ.สต.บูกิต ปี 2566 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 66-L2479-01-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวยาสมี ลาเตะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสูงวัยฟันดี ทานอย่างไรให้อร่อยรพ.สต.บูกิต ปี 2566 ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวยาสมี ลาเตะ
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 66-L2479-01-06 เลขที่ข้อตกลง 06/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสูงวัยฟันดี ทานอย่างไรให้อร่อยรพ.สต.บูกิต ปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสูงวัยฟันดี ทานอย่างไรให้อร่อยรพ.สต.บูกิต ปี 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสูงวัยฟันดี ทานอย่างไรให้อร่อยรพ.สต.บูกิต ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2479-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทย ไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2548 โดยมีประชากรผู้สูงอายุ ร้อยละ 10.4 ของประชากรทั้งประเทศ และคาดว่าจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในช่วงปี พ.ศ.2567-2568 (ที่มา: สำนักงานสถิติแห่งชาติ) ทางด้านระบบสาธารณสุขของไทยได้ตระหนักถึงปัญหาด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ หากผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพร่างกายและปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้องก็จะช่วยชะลอความเสื่อมสภาพของร่างกายได้
กลุ่มผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่พบปัญหาสุขภาพช่องปากอย่างชัดเจน ปัญหาสุขภาพช่องปากหลักๆ แบ่งออกเป็น7 ประการ ได้แก่ (1) ฟันผุและรากฟันผุ (2) โรคเหงือกอักเสบและปริทันต์อักเสบ (3) ฟันสึก (4) น้ำลายแห้ง (5) การสูญเสียฟันและปัญหามาจากการใส่ฟันปลอม (6) มีแผลหรือรอยโรคมะเร็งในช่องปาก และ (7) ปัญหาเรื่องการบดเคี้ยว ซึ่งเป็นปัญหาที่ทำให้ผู้สูงอายุต้องมาพบทันตแพทย์ เพราะหากเกิดการสูญเสียฟันไปแล้วจะส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจของผู้สูงอายุเป็นอย่างมาก ทั้งยังส่งผลต่อการดำเนินชีวิตประจำวันด้านบุคลิกภาพ การเข้าสังคม การพูดคุย การเคี้ยวอาหาร การรับรสชาติ เป็นต้น ทั้งนี้ได้มีการกำหนดคุณภาพชีวิตด้านทันตสุขภาพว่าคนเราเมื่ออายุเกิน 60 ปี ควรจะมีฟันที่ใช้งานได้อย่างน้อย 20 ซี่ มีฟันกรามสบกันดีทั้งซ้ายขวา อย่างน้อยข้างละ 2 คู่ นอกจากนี้ยังต้องมีเหงือกแข็งแรงไม่เป็นโรคเหงือกอักเสบ จึงจะถือว่าเป็นผู้มีสุขภาพช่องปากดี
ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบูกิต จึงได้จัดโครงการสูงวัยฟันดี ทานอย่างไรให้อร่อย รพ.สต.บูกิต ปี 256๖ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะที่ถูกต้องเหมาะสมสำหรับดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง ตลอดจนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพช่องปาก สู่การมีสุขภาพช่องปากดียั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อให้ผู้เข้ารวมอบรมได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้ฝึกทักษะการแปรงฟันอย่างสะอาด และถูกวิธีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕o
- เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้ (กรณีพึ่งพาตนเอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมจับผิดภาพ อาหารที่มีประโยชน์ต่อฟันเเละโทษต่อฟัน
- อบรมให้ความรู้ โครงการสูงวัยฟันดี ทานอย่างไรให้
- จัดกิจกรรมฝึกแปรงฟันแก่ผู้สูงอายุ โดยการย้อมสีฟัน ก่อนและหลังแปรงฟัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 80 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้และทักษะการดูแล
๒.ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถแปรงฟันได้อย่างสะอาดและถูกวิธี
๓.ผู้เข้าอบรมมีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้ ตลอดจนสามารถลดปัจจัยเสี่ยงในการเกิด
โรคฟันผุ โรคปริทันต์ และโรคอื่นๆในช่องปาก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมจับผิดภาพ อาหารทีมีประโยชน์ต่อฟันเเละโทษต่อฟัน |
||
วันที่ 22 มิถุนายน 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำคัดกรองตรวจสุขภาพฟันเดือนละ ๒ ครั้ง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น๒.ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถแปรงฟันได้อย่างสะอาดและถูกวิธี
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑.เพื่อให้ผู้เข้ารวมอบรมได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก ตัวชี้วัด : ๑. ผู้เข้ารวมอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการตอบแบบสอบถาม หลังการอบรมมากกว่า ก่อนการอบรม |
80.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้ฝึกทักษะการแปรงฟันอย่างสะอาด และถูกวิธีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕o ตัวชี้วัด : ๒.ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถแปรงฟันสะอาดและถูกวิธีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕o |
80.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้ (กรณีพึ่งพาตนเอง ตัวชี้วัด : ผู้เข้าอบรมสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 |
80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้ผู้เข้ารวมอบรมได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้ฝึกทักษะการแปรงฟันอย่างสะอาด และถูกวิธีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕o (3) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้ (กรณีพึ่งพาตนเอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจับผิดภาพ อาหารที่มีประโยชน์ต่อฟันเเละโทษต่อฟัน (2) อบรมให้ความรู้ โครงการสูงวัยฟันดี ทานอย่างไรให้ (3) จัดกิจกรรมฝึกแปรงฟันแก่ผู้สูงอายุ โดยการย้อมสีฟัน ก่อนและหลังแปรงฟัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสูงวัยฟันดี ทานอย่างไรให้อร่อยรพ.สต.บูกิต ปี 2566 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 66-L2479-01-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวยาสมี ลาเตะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......