กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ห่างไกลเรื้อรัง (NCDs) ”

ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายนิอาดิ แวอาลี

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ห่างไกลเรื้อรัง (NCDs)

ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2479-01-07 เลขที่ข้อตกลง 07/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ห่างไกลเรื้อรัง (NCDs) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ห่างไกลเรื้อรัง (NCDs)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ห่างไกลเรื้อรัง (NCDs) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2479-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยเฉพาะโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและส่งผลกระทบในหลายด้าน ถือเป็นภัยเงียบระดับชาติและเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุข กลุ่มโรคดังกล่าวนี้มีสาเหตุจากปัจจัยเสี่ยงหลายปัจจัย ข้อมูลองค์การอนามัยโลก ระบุประชากรทั่วโลกเสียชีวิตด้วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังร้อยละ 63 และที่สำคัญเป็นประชากรในประเทศกำลังพัฒนาถึงร้อยละ 80 ขณะที่คนไทยเสียชีวิตด้วยกลุ่มโรคนี้สูงกว่าอัตราการเสียชีวิตเฉลี่ยของประชากรทั้งโลกถึงร้อยละ 10 และสูงกว่าทุกประเทศในโลก การดำเนินการงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อในปัจจุบัน ได้มีหลากหลายแนวคิดการดำเนินการ เช่น แนวทางการปฏิบัติงานตามองค์การอนามัยโลก แนวทางการปฏิบัติงานของกระทรวงสาธารณสุขตามคู่มือการปฏิบัติงานป้องกัน และควบคุมโรคไม่ติดต่อ โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพใช้หลัก 3อ. 2ส. คือ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ ไม่สูบบุหรี่และไม่ดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จากการสำรวจข้อมูลชุมชน พบว่าประชาชนส่วนใหญ่ขาดการออกกำลังกาย และจากการคัดกรองการบริโภคหวาน มัน เค็ม ในครัวเรือนด้วยวาจา พบว่า ในแต่ละครัวเรือนเน้นการปรุงอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็ม ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้เป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ ส่งผลต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ปัจจุบันโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบูกิตมีประชากรในพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมดจำนวน 6,969 คน ป่วยเป็นโรคเรื้อรังทั้งหมด 771 คน คิดเป็นร้อยละ 11.06 แยกเป็นโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 487 คน คิดเป็นร้อยละ 6.98 โรคเบาหวาน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 0.51 เป็นทั้งโรคความดันและเบาหวานจำนวน 248 คน คิดเป็นร้อยละ 3.55 และมีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งนับว่าเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนที่สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาพแก่ประชาชนและ การออกกำลังกาย
จากปัญหาข้างต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหา และเพื่อเป็นการเฝ้าระวังปัญหา ควบคุม รักษา หรือส่งเสริมดำรงคงไว้ซึ่งสุขภาพที่ดี และการปรับปรุงส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน ให้มีการดูแลสุขภาพของตนเองและชุมชนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม จึงได้จัดทำโครงการ “สร้างเสริมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ห่างไกลเรื้อรัง (NCDs)” เพื่อให้เกิดการส่งเสริมและการป้องกันปัญหาทางสุขภาพในชุมชนอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเรื้อรัง สาเหตุ อาการ การรักษาและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคเรื้อรัง
  2. 2. เพื่อกระตุ้นให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารโดยลดหวาน มัน เค็ม ของประชาชน
  3. 3. เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายในครอบครัวและชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเรื้อรัง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค อาหารเพื่อลดโรค และสาธิตวิธีการ ออกกำลังกายที่ถูกต้อง
  2. การตรวจคัดกรองประเมินสุขภาพ เบื้องต้น ได้แก่ วัดความดัน ชังน้ำหนักวัดรอบเอว คัดกรองสุขภาพจิต

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคเรื้อรัง สาเหตุ อาการ การรักษาและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคเรื้อรัง และสามารถดูแลตนเองได้
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการบริโภคอาหารโดยลดหวาน มัน เค็ม
  3. มีการออกกำลังกายของกลุ่มเสี่ยงในครอบครัวและชุมชนอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ
  4. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถนำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่ในครอบครัวและชุมชนของตัวเองได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเรื้อรัง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค อาหารเพื่อลดโรค และสาธิตวิธีการ ออกกำลังกายที่ถูกต้อง

วันที่ 16 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าอาหารว่างสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 70 คน x 25 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน3,500 บาท - ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 70 คน x 60 บาท x 1 มื้อ นเงิน4,200 บาท - ค่าตอบแทนวิทยากร 6 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท x 6 ชั่วโมง ป็นเงิน 3,600บาท -ค่าวัสดุประชาสัมพันธ์และโฆษณา (ป้ายไวนิล) 1.5 x 2เมตร เป็นเงิน 750 -ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการจัดโครกงาร 70 ชุด *70 บาท เป็นเงิน 4,900

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้อยละ ๙๐ ของกลุ่มเสี่ยง มีความรูความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเรื้อรัง (NCDs)

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเรื้อรัง สาเหตุ อาการ การรักษาและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคเรื้อรัง สาเหตุ อาการ การรักษาและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคเรื้อรัง
70.00

 

2 2. เพื่อกระตุ้นให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารโดยลดหวาน มัน เค็ม ของประชาชน
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 90 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการบริโภคอาหารโดยลดหวาน มัน เค็ม
70.00

 

3 3. เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายในครอบครัวและชุมชน
ตัวชี้วัด : 3. มีการออกกำลังกายในครอบครัวและชุมชนอย่างสม่ำเสมอ
70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.    เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเรื้อรัง สาเหตุ อาการ การรักษาและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคเรื้อรัง (2) 2. เพื่อกระตุ้นให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารโดยลดหวาน มัน เค็ม ของประชาชน (3) 3. เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายในครอบครัวและชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเรื้อรัง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค อาหารเพื่อลดโรค และสาธิตวิธีการ  ออกกำลังกายที่ถูกต้อง (2) การตรวจคัดกรองประเมินสุขภาพ เบื้องต้น ได้แก่ วัดความดัน ชังน้ำหนักวัดรอบเอว คัดกรองสุขภาพจิต

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ห่างไกลเรื้อรัง (NCDs) จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2479-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนิอาดิ แวอาลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด