กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและเพิ่มกิจกรรมทางกายในผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาโหนด ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวปิยะรัตน์ บรรจง นักพัฒนาชุมชนชำนาญการ เทศบาลตำบลนาโหนด

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและเพิ่มกิจกรรมทางกายในผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาโหนด ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด

รหัสโครงการ 66-3357-01-007 เลขที่ข้อตกลง .................../2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพและเพิ่มกิจกรรมทางกายในผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาโหนด ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและเพิ่มกิจกรรมทางกายในผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาโหนด ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและเพิ่มกิจกรรมทางกายในผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาโหนด ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 66-3357-01-007 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 98,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยได้เข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุ” มาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2548 กล่าวคือ มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปเกินกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศซึ่งจำนวนผู้สูงอายุในตำบลนาโหนด มีทั้งสิ้น จำนวน 1,556 คน อัตราการเกิดที่ลดลงและความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ ทําให้ผู้สูงอายุมีอายุยืนยาวขึ้น การที่ประชากรวัยสูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้ประเทศต้องมีรายจ่ายด้านสวัสดิการเพื่อผู้สูงอายุเพิ่มสูงขึ้น ครอบครัวต้องแบกรับภาระในการดูแลผู้สูงอายุมากขึ้น ขณะที่ผู้สูงอายุเองเมื่อมีอายุยืนยาวขึ้นก็ยิ่งต้องเผชิญกับปัญหาการขาดแคลนรายได้หรือมีรายได้ไม่เพียงพอแก่การดำรงชีพ รวมถึงความเสี่ยงจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังต่าง ๆ ความพิการหรือทุพพลภาพ นอกจากนี้ สภาพครอบครัวไทยที่เปลี่ยนแปลงไปจากอดีต จากที่มีคนหลายรุ่นอยู่ในครัวเรือนเดียวกันกลายเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น ทำให้ผู้สูงอายุต้องอยู่กันตามลำพังขาดผู้ดูแล และอาจเกิดความรู้สึกว่าชีวิตไร้ความหมาย สถานการณ์ของผู้สูงอายุไทยจึงน่าวิตก การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุจึงควรดำเนินการควบคู่กับมาตรการอื่นๆ ของรัฐเพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง ซึ่งผู้มีบทบาทสำคัญ ได้แก่ สมาชิกในครอบครัวชุมชน และท้องถิ่นโดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีภารกิจโดยตรงในการดูแลผู้สูงอายุรวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนและแสวงหาความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายเพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีพื้นที่ในการเข้าร่วมกิจกรรมกับชุมชน ไม่ว่าจะเป็นการพบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การถ่ายทอดภูมิปัญญา หรือการพัฒนาตนเองในด้านต่าง ๆ ซึ่งเป็นการยกระดับการจัดสวัสดิการ สำหรับผู้สูงอายุในชุมชน เพื่อให้ผู้สูงอายุมองเห็นคุณค่าและความสำคัญของตนเอง และชุมชนประจักษ์ในศักยภาพและพลังของผู้สูงอายุ ส่งผลให้ผู้สูงอายุใช้ชีวิตอย่างมีคุณค่า มีศักดิ์ศรี มีความสุข และมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี ประกอบกับอำนาจหน้าที่ของเทศบาล ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2543 กำหนดไว้แจ้งชัด ซึ่งได้จำแนกที่มาของอำนาจหน้าที่ดังกล่าวดังนี้ (7) ส่งเสริมพัฒนาสตรี เด็กเยาวชนผู้สูงอายุ และผู้พิการ และมีอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 หมวด 2 มาตรา 16 (10) การสังคมสงเคราะห์และการพัฒนา คุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาสเทศบาลตำบลนาโหนด จึงได้กำหนดจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและเพิ่มกิจกรรมทางกายในผู้สูงอายุตำบลนาโหนด ประจำปีงบประมาณ 2566เพื่อการส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี และเสริมสร้างการพัฒนาตนเองการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้ที่กำลังจะเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนผุ้สูงอายุที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาที/สัปดาห์)
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยหลัก 6อ
  3. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทย/สมุนไพรรักษาโรค
  4. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยสมาธิบำบัด SKT1 ลดเครียด ลดโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการออกกำลังกาย รำผ้าขาวม้า
  2. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการฝึกโยคะเบื้องต้น ฝึกระบบหายใจ ลดความเครียด
  3. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยแพทย์แผนไทย/สมุนไพรรักษาโรค ต้านโควิด
  4. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยสมาธิบำบัด SKT 1 ลดเครียด ลดโรค
  5. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตามหลัก 6 อ. (อาหาร/ออกกำลังกาย/อารมณ์/อนามัยสิ่งแวดล้อม/อโรคยา/อบายมุข)
  6. กิจกรรมออกกำลังกายรำผ้าขาวผ้า
  7. กิจกรรมออกกำลังกายรำผ้าขาวผ้า

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุไ้ด้รับการส่งเสริมสุขภาพตามหลัก 6อ เพิ่มขึ้น ทำให้มีสุขภาพดีทั้งทางร่างกายและจิตใจ
  2. ผู้เข้าสู่วัยสูงอายุ ผู้สูงอายุได้เรียนโยคะได้ฝึกระบบหายใจ ลดความเครียด
    3ผู้เข้าสู่วัยสูงอายุ ผู้สูงอายุมีกิจกรรมสร้างสรรค์ทำให้สุขภาพจิตดีขึ้น
  3. ผู้สูงอายุมีกิจกรรมทางกายต่อวันเพิ่มขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมออกกำลังกายรำผ้าขาวผ้า

วันที่ 4 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมได้มีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น สามารถนำท่าทางไปฝึกออกกำลังกายต่อได้เองที่บ้าน

 

50 0

2. กิจกรรมออกกำลังกายรำผ้าขาวผ้า

วันที่ 4 สิงหาคม 2566 เวลา 10:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ฝึกปฏิบัติท่าทางการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ต่อยอดโดยการนำท่าทางไปออกกำลังกายต่อที่บ้าน

 

0 0

3. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตามหลัก 6 อ. (อาหาร/ออกกำลังกาย/อารมณ์/อนามัยสิ่งแวดล้อม/อโรคยา/อบายมุข)

วันที่ 4 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมฟังบรรยายเรื่อง 6 อ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นำความรู้ไปปรับใช้กับชีวิตจริง

 

50 0

4. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการฝึกโยคะเบื้องต้น ฝึกระบบหายใจ ลดความเครียด

วันที่ 11 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เรียนรู้ทฤษฎี/ฝึกปฏิบัติประกอบท่าจริงของท่าโยคะแต่ละท่า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถนำไปฝึกต่อที่บ้านได้จริง

 

50 0

5. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยแพทย์แผนไทย/สมุนไพรรักษาโรค ต้านโควิด

วันที่ 18 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เรียนรู้ทฤษฎีประโยชน์ต่างๆของสมุนไพร/เรียนรู้วิธีการทำลูกประคบ/ฝึกปฏิบัติท่าทางการคลายเส้นกดจุดด้วยตนเอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถนำไปปฏิบัติต่อยอดได้เองที่บ้านจริง

 

50 0

6. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยสมาธิบำบัด SKT 1 ลดเครียด ลดโรค

วันที่ 25 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ฟังบรรยายการทำสมาธิ ฝึกปฏิบัติ /กิจกรรมปันสุขทางการเล่นกิจกรรมพื้นบ้าน โดยมีกิจกรรมปิดตาแต่งหน้า/โชว์กล่อมลูกน้อย/ตีกอล์ฟลูกมะเขือ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้นำหลักการฝึกสมาธิไปฝึกในชีวิตประจำวันได้จริง/และกิจกรรมพื้นบ้านเพื่อส่งเสริมสุขภาพทางจิตใจและทางกายให้เกิดความสุขและสนุกสนาน

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ดำเนินการใน 4 กิจกรรม ดังนี้
กิจกรรมที่ 1ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตามหลัก 6อ (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ อนามัย สิ่งแวดล้อม อโรคยา อบายมุข) โดยจัดอบรมให้ความรู้ตามหลัก 6อ กิจกรรมออกกำลังกายด้วยการรำผ้าขาวม้า เรียนรู้กิจกรรมเข้าจังหวะ
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการฝึกโยคะเบื้องต้น ฝึกระบบหายใจ ลดความเครียด
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยแพทย์แผนไทย สมุนไพรรักษาโรค ต้านโควิด โดยการอบรมเรียนรู้เรื่องแพทย์แผนไทย เรียนรู้วิธีการนวดแพทย์แผนไทย เรียนรู้เรื่องการทำน้ำสมุนไพรต้านโควิด อบรมเรียนรู้ทำลูกประคบ
กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมสุขภาพด้วยกิจกรรมสมาธิบำบัด SKT1 ลดเครียด ลดโรค กิจกรรมทางกายปันสุข

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนผุ้สูงอายุที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาที/สัปดาห์)
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาที/สัปดาห์) เพิ่มขึ้น
300.00 370.00 50.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยหลัก 6อ
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยหลัก 6อ เพิ่มขึ้น
300.00 370.00 50.00

 

3 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทย/สมุนไพรรักษาโรค
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทย/สมุนไพรรักษาโรค เพิ่มขึ้น
450.00 520.00 50.00

 

4 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยสมาธิบำบัด SKT1 ลดเครียด ลดโรค
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยสมาธิบำบัด SKT1 ลดเครียด ลดโรค เพิ่มขึ้น
150.00 220.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 70 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนผุ้สูงอายุที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาที/สัปดาห์) (2) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยหลัก 6อ (3) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทย/สมุนไพรรักษาโรค (4) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยสมาธิบำบัด SKT1 ลดเครียด ลดโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการออกกำลังกาย รำผ้าขาวม้า (2) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการฝึกโยคะเบื้องต้น ฝึกระบบหายใจ ลดความเครียด (3) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยแพทย์แผนไทย/สมุนไพรรักษาโรค ต้านโควิด (4) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยสมาธิบำบัด SKT 1 ลดเครียด ลดโรค (5) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตามหลัก 6 อ. (อาหาร/ออกกำลังกาย/อารมณ์/อนามัยสิ่งแวดล้อม/อโรคยา/อบายมุข) (6) กิจกรรมออกกำลังกายรำผ้าขาวผ้า (7) กิจกรรมออกกำลังกายรำผ้าขาวผ้า

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและเพิ่มกิจกรรมทางกายในผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาโหนด ปีงบประมาณ 2566

รหัสโครงการ 66-3357-01-007 รหัสสัญญา .................../2566 ระยะเวลาโครงการ 1 มีนาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมสุขภาพและเพิ่มกิจกรรมทางกายในผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาโหนด ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด

รหัสโครงการ 66-3357-01-007

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวปิยะรัตน์ บรรจง นักพัฒนาชุมชนชำนาญการ เทศบาลตำบลนาโหนด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด