กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ


“ พ่นหมอกควันป้องกันโรคไข้เลือดออก ”

พื้นที่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายสมนึก อาดตันตรา

ชื่อโครงการ พ่นหมอกควันป้องกันโรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ พื้นที่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 3/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"พ่นหมอกควันป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พื้นที่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พ่นหมอกควันป้องกันโรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " พ่นหมอกควันป้องกันโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ พื้นที่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกถือได้ว่าเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ เพราะมีเชื้อโรคและพาหะนำโรคที่บ่งบอกชัดเจน สามารถกำจัดได้โดยง่าย แต่ขณะเดียวกันหากไม่มีการป้องกันและควบคุม จะเกิดการระบาดได้อย่างรวดเร็ว และอันตรายถึงแก่ชีวิตได้โรคติดต่อที่กระจายในพื้นที่ตำบลแป-ระ ได้แก่โรคไข้เลือดออก โรคอีสุกอีใสโรค มือ เท้าปากเปื่อย โรคตาแดง โรคอุจจาระร่วง เป็นประจำทุกปี การดำเนินงานโรคติดต่อที่มีผลการดำเนินการควบคุมอย่างประสิทธิผล คือการสร้างความตระหนักให้ประชาชนทุกคนเห็นเป็นหน้าที่ของตนในการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออกในตำบลแป-ระ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถแก้ไขปัญหาต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ทันสถานการณ์ เป็นตำบลที่มีการจัดการโรคไข้เลือดออกที่เข้มแข็ง สถานการณ์ปีที่ผ่านมาในตำบลแป-ระ พบผู้ป่วยจำนวน9ราย อัตราป่วยเท่ากับ 134.38 ต่อแสนประชากรกำหนดของกระทรวงสาธารณสุขไม่เกิน20 ต่อแสนประชากร และ ณปัจจุบันได้รับแจ้งจากโรงพยาบาลท่าแพ มีผู้ป่วย ตั้งแต่เดือน พฤษภาคม 2565 – ตุลาคม 2565 จำนวน9 รายซึ่งเป็นปัญหาที่ต้องเฝ้าระวังจากทุกภาคส่วนอย่างเร่งด่วนเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก ในปีงบประมาณ 2566 กองสาธารณสุขสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระซึ่งเป็นองค์กรที่มีหน้าที่ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ เป็นภารกิจหลักที่ต้องทำเพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลแป-ระปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินจากโรคติดต่อจึงมีความจำเป็นต้องหามาตรการในการควบคุมโรคไม่ให้แพร่ระบาดในชุมชน หมู่บ้าน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อให้ดำเนินงานควบคุมโรคติดต่อ ตำบลแป-ระมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างองค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป-ระ ในการนี้ กองสาธารณสุขฯ องค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ จึงได้จัดทำโครงการพ่นหมอกควันป้องกันโรคไข้เลือดออก ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และมีส่วนร่วมในการควบคุม โรคติดต่อ
  2. 2 เพื่อควบคุมโรคติดต่อที่ระบาดในพื้นที่อย่างทันท่วงที
  3. 3 เพื่อให้มีการควบคุมและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของสัตว์นำ โรคอย่างต่อเนื่อง
  4. 4 เพื่อให้ประชาชนปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการพ่นหมอกควันป้องกันโรคไข้เลือดออก
  2. พ่นหมอกควันหลังคาเรือนที่พบผู้ป่วย
  3. พ่นหมอกควัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้และมีส่วนร่วมในการควบคุมโรคติดต่อเพิ่มมากขึ้น
  2. สามารถควบคุมโรคติดต่อที่ระบาดในพื้นที่อย่างทันท่วงที
  3. ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. พ่นหมอกควันหลังคาเรือนที่พบผู้ป่วย

วันที่ 13 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จ้างพ่นหมอกควันรัศมี 100 เมตร บ้านผู้ป่วยในพื้นที่ตำบลแป-ระ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พ่นหมอกควันบริเวณบ้านผู้ป่วยไข้เลือดออก และบริเวณใกล้เคียงรัศมี 100 เมตร พื้นที่ตำบลแป-ระ จำนวน 43 ราย

 

0 0

2. พ่นหมอกควัน

วันที่ 1 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จ้างพ่นหมอกควันรัศมี 100 เมตร บ้านที่พบผู้ป่วยในพื้นที่ตำบลแป-ระ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พ่นหมอกควันกรณีพบผู้ป่วยไข้เลือดออก ในรัศมี 100 เมตร ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม ถึง 31 ธันวาคม 2566 จำนวน 18 ราย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และมีส่วนร่วมในการควบคุม โรคติดต่อ
ตัวชี้วัด :
0.00 0.00

 

2 2 เพื่อควบคุมโรคติดต่อที่ระบาดในพื้นที่อย่างทันท่วงที
ตัวชี้วัด :
100.00 100.00

 

3 3 เพื่อให้มีการควบคุมและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของสัตว์นำ โรคอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 4 เพื่อให้ประชาชนปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และมีส่วนร่วมในการควบคุม โรคติดต่อ (2) 2 เพื่อควบคุมโรคติดต่อที่ระบาดในพื้นที่อย่างทันท่วงที (3) 3 เพื่อให้มีการควบคุมและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของสัตว์นำ    โรคอย่างต่อเนื่อง (4) 4 เพื่อให้ประชาชนปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการพ่นหมอกควันป้องกันโรคไข้เลือดออก (2) พ่นหมอกควันหลังคาเรือนที่พบผู้ป่วย (3) พ่นหมอกควัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


พ่นหมอกควันป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมนึก อาดตันตรา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด