โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดีตาม สังคมมีความสุข
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดีตาม สังคมมีความสุข ”
ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางพรทิพย์ พละสินธุ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดีตาม สังคมมีความสุข
ที่อยู่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7255-2-004 เลขที่ข้อตกลง 06/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดีตาม สังคมมีความสุข จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดีตาม สังคมมีความสุข
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
(1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และความเข้าใจในการปฏิบัติตัวเรื่องการดูแลบุคคลในครอบครัวได้อย่างเหมาะสม
(2) เพื่อความเสี่ยงที่จะเกิดความเครียด และมีสุขภาพจิตที่ดี และทำให้สุขภาพกายดีขึ้นตามในวัยทำงาน
(3) เพื่อความเสี่ยงที่จะเกิดความเครียด และมีสุขภาพจิตที่ดี และทำให้สุขภาพกายดีขึ้นตามในผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
(1) ประชุมวางแผนการดำเนินงาน
(2) อบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 1
(3) ติดตาม และประเมินการดำเนินโครงการ
(4) อบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
(5) อบรมให้ความรู้ ครั้งที่ 3
(6) สรุปผลการดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพจิตที่ดีส่งผลให้คนเรามีพลังในการต่อสู้กับทุกๆปัญหา ได้แต่ด้วยสถานการณ์ปัจจุบันประชาชนต้องทำงานแข่งกับเวลา ทุกอย่าง ในชีวิต ล้วนแต่มีความเร่งรีบ ไม่มีเวลาให้กัน ผลกระทบทั้งทางด้านเศรษกิจ สังคม ความเป็นอยู่หลายครอบครัวต้องเผชิญกับความสูญเสียใช้ชีวิตอยู่บนความหวาดระแวงต่อโรค บุคคลขาดงาน ขาดรายได้ จนทำให้เกิดภาวะเสี่ยงโรคซึมเศร้า ท้อถ้อยจนไม่อยากมีชีวิตต่อไป บางคนยังมีโรคประจำตัว เช่น ความดัน เบาหวาน หัวใจก็ยิ่ง ส่งผลให้มีความเสี่ยงที่จะเกิดความเครียด โรคซึมเศร้า
ดังนั้นทางสมาคมพุทธศาสตร์คลองแห ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการ“โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดี สังคมมีความสุข”ประจำปี 2566 ขึ้นเพื่อสร้างพลังความเข้มแข็งทางจิตใจให้แก่ประชาชน เพื่อลดปัญหาด้านสุขภาพจิต ซึ่งจะส่งผลให้ปัญหาดังกล่าวลดลง ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และความเข้าใจในการปฏิบัติตัวเรื่องการดูแลบุคคลในครอบครัวได้อย่างเหมาะสม
- เพื่อความเสี่ยงที่จะเกิดความเครียด และมีสุขภาพจิตที่ดี และทำให้สุขภาพกายดีขึ้นตามในวัยทำงาน
- เพื่อความเสี่ยงที่จะเกิดความเครียด และมีสุขภาพจิตที่ดี และทำให้สุขภาพกายดีขึ้นตามในผู้สูงอายุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมวางแผนการดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 1
- ติดตาม และประเมินการดำเนินโครงการ
- อบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
- อบรมให้ความรู้ ครั้งที่ 3
- สรุปผลการดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
-ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
-ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
-ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ และสามัคคีในครอบครัว
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ติดตาม และประเมินการดำเนินโครงการ
วันที่ 24 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ติดตามกลุ่มเป้าหมาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมที่ 4 การติดตาม และประเมินผลโครงการ
ดำเนินการจัดกิจกรรม ในการติดตามเยี่ยมกลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรม พร้อมทั้งประเมินความพึง
พอใจ และสรุปผลการจัดทำโครงการ วิเคราะห์ผลการจัดกิจกรรม ปัญหาและอุปสรรค พร้อมแนวทาง
ในการ วางแผนแก้ไขปัญหา งบประมาณสำหรับดำเนินกิจกรรม 760 บาท
รายละเอียดงบประมาณ
ค่าถ่ายเอกสารแบบประเมินความพึงพอใจ จำนวน 80 ชุดๆละ 2 บาท เป็นเงิน 160 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 20 คนๆละ 30 บาท จำนวน 1 มื้อ รวมเป็นเงิน 600 บาท
0
0
2. อบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
วันที่ 30 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อบรมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2 ให้ความรู้เกี่ยวกับ พฤติกรรมนำสุข ไม่ทุกข์ ไม่เศร้า
และ กิจกรรมละลายพฤติกรรม อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
กิจกรรมมอบรมทักษะ เกี่ยวกับ พฤติกรรมนำสุข ไม่ทุกข์ ไม่เศร้า และกิจกรรมละลายพฤติกรรม อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข แก่สมาชิกสมาคมพุทธศาสตร์คลองแห จำนวน 80 คน งบประมาณ 19,500 บาท
รายละเอียดงบประมาณ
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 80 คนๆละ 60 บาท รวมเป็นเงิน 4,800 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 80 คนๆละ 30 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 4,800 บาท
ค่าเช่าสถานที่พร้อมเครื่องเสียง วันละ 1,500 บาท รวมเป็นเงิน 1,500 บาท
ค่าวิทยากรกลุ่มจำนวน 3 คน ๆ ละ 2 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
ค่าวิทยากรกลุ่ม จำนวน 4 คน ๆ ละ 2 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท
0
0
3. อบรมให้ความรู้ ครั้งที่ 3
วันที่ 4 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
มอบเกียรติบัตร ถอดบทเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อบรมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 3 กิจกรรมถอดบทเรียน เรื่องการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข พร้อมมอบเกียรติบัตรแก่ผู้สูงอายุ
จัดกิจกรรม ถอดบทเรียนการใช้ชีวิตอยู่ในสังคมให้มีความสุขทั้งทางกาย ทางใจ และ มอบเกียรติบัตรแก่
ผู้สูงอายุสุขภาพดีแก่สมาชิกสมาคมพุทธศาสตร์คลองแห จำนวน 80 คน งบประมาณ 26,800 บาท
งบประมาณ
- ค่าวิทยากรกลุ่ม จำนวน 4 คนๆละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน 7,200บาท
ค่าเกียรติบัตร จำนวน 31 ชุดๆละ 300 บาท เป็นเงิน 9,300 บาท
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 80 คนๆละ 60 บาท รวมเป็นเงิน 4,800 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 80 คนๆละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 4,000 บาท
ค่าเช่าสถานที่พร้อมเครื่องเสียง วันละ 1,500 บาท รวมเป็นเงิน 1,500 บาท
0
0
4. ประชุมวางแผนการดำเนินงาน
วันที่ 30 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะทำงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1 กิจกรรมการประชุมวางแผนการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
ประชุมวางแผนทำงานจำนวน 20 คน ณ วัดคลองแห เพื่อ กำหนดวันดำเนินกิจกรรมและ
มอบหมายงานให้แต่ละฝ่ายในการติดต่อประสานงาน ทั้งด้านสถานที่ วิทยากร ในการดำเนิน
กิจกรรม งบประมาณ ทั้งสิ้น 600 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 20 คนๆละ 30 บาท รวมเป็นเงิน 600 บาท
0
0
5. อบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 1
วันที่ 8 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อบรมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 1 ให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพดีวิถีไทยห่างไกลโรค
ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคอาหาร รับประทานอาหารให้เป็นยา และการรู้เท่าทันโรค แก่สมาชิกสมาชิก กลุ่มอาสาสายธารทิพย์ สู่ชุมชน จำนวน 80 คน งบประมาณในการดำเนินกิจกรรม จำนวน 17,550 บาท
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ
1.1 การบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับวัย
1.2. การรักษาสุขภาพจิตเชิงบูรณาการ แบ่งกลุ่ม 3 กลุ่ม
กลุ่มที่ 1 การดูแลสุขภาพแบบพึ่งพาได้
กลุ่มที่ 2 รู้ทันโรคและการป้องกัน
กลุ่มที่ 3 อาหารกับการป้องกันโรค
- รายละเอียดงบประมาณ
เอกสารประเมินและคัดกรองเบื้องต้น 300 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 80 คนๆละ 30 บาท จำนวน 2 มื้อ รวมเป็นเงิน 4,800 บาท
ค่าเช่าสถานที่และ เครื่องเสียง วันละ 1,500 บาท รวมเป็นเงิน 1,500 บาท
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 80 คนๆละ 60 บาท เป้นเงิน 4,800 บาท
ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยายการบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับวัย จำนวน 1 คน จำนวน 3 ชั่วโมง ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่มที่ 1. เรื่อง การดูแลสุขภาพแบบพึ่งพาได้ จำนวน 1 คนๆละ 2 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่มที่ 2. เรื่องรู้ทันโรคและการป้องกัน จำนวน 1 คนๆละ 2 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่มที่ 3. เรื่องอาหารกับการป้องกันโรค จำนวน 1 คนๆละ 2 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
ค่าไวนิลโครงการ จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 750 บาท
0
0
6. สรุปผลการดำเนินโครงการ
วันที่ 31 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดทำเอกสารรูปเล่ม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมที่ 4 สรุปผลการดำเนินโครงการ
จัดทำเอกสารรูปเล่ม จำนวน 2 เล่มเพื่อส่งกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคลองแห
และเก็บไว้ที่ที่ทำการสามาคม 1 เล่ม
งบประมาณ
- ค่าจัดทำเอกสารรูปเล่ม จำนวน 2 เล่มๆละ 500 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และความเข้าใจในการปฏิบัติตัวเรื่องการดูแลบุคคลในครอบครัวได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู็ ความเข้าใจ ความแตกต่างกันของคนในครอบครัว และปฏิบัติตัวได้อย่างเหมาะสม
80.00
80.00
80.00
2
เพื่อความเสี่ยงที่จะเกิดความเครียด และมีสุขภาพจิตที่ดี และทำให้สุขภาพกายดีขึ้นตามในวัยทำงาน
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดความเครียดลดน้อยลง
32.00
28.00
25.00
3
เพื่อความเสี่ยงที่จะเกิดความเครียด และมีสุขภาพจิตที่ดี และทำให้สุขภาพกายดีขึ้นตามในผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดความเครียดลดน้อยลง
43.00
35.00
34.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
90
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
0
10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
80
80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
(1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และความเข้าใจในการปฏิบัติตัวเรื่องการดูแลบุคคลในครอบครัวได้อย่างเหมาะสม
(2) เพื่อความเสี่ยงที่จะเกิดความเครียด และมีสุขภาพจิตที่ดี และทำให้สุขภาพกายดีขึ้นตามในวัยทำงาน
(3) เพื่อความเสี่ยงที่จะเกิดความเครียด และมีสุขภาพจิตที่ดี และทำให้สุขภาพกายดีขึ้นตามในผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
(1) ประชุมวางแผนการดำเนินงาน
(2) อบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 1
(3) ติดตาม และประเมินการดำเนินโครงการ
(4) อบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
(5) อบรมให้ความรู้ ครั้งที่ 3
(6) สรุปผลการดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดีตาม สังคมมีความสุข จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7255-2-004
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางพรทิพย์ พละสินธุ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดีตาม สังคมมีความสุข ”
ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางพรทิพย์ พละสินธุ์
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7255-2-004 เลขที่ข้อตกลง 06/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดีตาม สังคมมีความสุข จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดีตาม สังคมมีความสุข
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
(1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และความเข้าใจในการปฏิบัติตัวเรื่องการดูแลบุคคลในครอบครัวได้อย่างเหมาะสม
(2) เพื่อความเสี่ยงที่จะเกิดความเครียด และมีสุขภาพจิตที่ดี และทำให้สุขภาพกายดีขึ้นตามในวัยทำงาน
(3) เพื่อความเสี่ยงที่จะเกิดความเครียด และมีสุขภาพจิตที่ดี และทำให้สุขภาพกายดีขึ้นตามในผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
(1) ประชุมวางแผนการดำเนินงาน
(2) อบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 1
(3) ติดตาม และประเมินการดำเนินโครงการ
(4) อบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
(5) อบรมให้ความรู้ ครั้งที่ 3
(6) สรุปผลการดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพจิตที่ดีส่งผลให้คนเรามีพลังในการต่อสู้กับทุกๆปัญหา ได้แต่ด้วยสถานการณ์ปัจจุบันประชาชนต้องทำงานแข่งกับเวลา ทุกอย่าง ในชีวิต ล้วนแต่มีความเร่งรีบ ไม่มีเวลาให้กัน ผลกระทบทั้งทางด้านเศรษกิจ สังคม ความเป็นอยู่หลายครอบครัวต้องเผชิญกับความสูญเสียใช้ชีวิตอยู่บนความหวาดระแวงต่อโรค บุคคลขาดงาน ขาดรายได้ จนทำให้เกิดภาวะเสี่ยงโรคซึมเศร้า ท้อถ้อยจนไม่อยากมีชีวิตต่อไป บางคนยังมีโรคประจำตัว เช่น ความดัน เบาหวาน หัวใจก็ยิ่ง ส่งผลให้มีความเสี่ยงที่จะเกิดความเครียด โรคซึมเศร้า
ดังนั้นทางสมาคมพุทธศาสตร์คลองแห ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการ“โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดี สังคมมีความสุข”ประจำปี 2566 ขึ้นเพื่อสร้างพลังความเข้มแข็งทางจิตใจให้แก่ประชาชน เพื่อลดปัญหาด้านสุขภาพจิต ซึ่งจะส่งผลให้ปัญหาดังกล่าวลดลง ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และความเข้าใจในการปฏิบัติตัวเรื่องการดูแลบุคคลในครอบครัวได้อย่างเหมาะสม
- เพื่อความเสี่ยงที่จะเกิดความเครียด และมีสุขภาพจิตที่ดี และทำให้สุขภาพกายดีขึ้นตามในวัยทำงาน
- เพื่อความเสี่ยงที่จะเกิดความเครียด และมีสุขภาพจิตที่ดี และทำให้สุขภาพกายดีขึ้นตามในผู้สูงอายุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมวางแผนการดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 1
- ติดตาม และประเมินการดำเนินโครงการ
- อบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
- อบรมให้ความรู้ ครั้งที่ 3
- สรุปผลการดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 80 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
-ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
-ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
-ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ และสามัคคีในครอบครัว
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ติดตาม และประเมินการดำเนินโครงการ |
||
วันที่ 24 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำติดตามกลุ่มเป้าหมาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่ 4 การติดตาม และประเมินผลโครงการ ดำเนินการจัดกิจกรรม ในการติดตามเยี่ยมกลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรม พร้อมทั้งประเมินความพึง รายละเอียดงบประมาณ
|
0 | 0 |
2. อบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 30 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอบรมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2 ให้ความรู้เกี่ยวกับ พฤติกรรมนำสุข ไม่ทุกข์ ไม่เศร้า และ กิจกรรมละลายพฤติกรรม อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข กิจกรรมมอบรมทักษะ เกี่ยวกับ พฤติกรรมนำสุข ไม่ทุกข์ ไม่เศร้า และกิจกรรมละลายพฤติกรรม อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข แก่สมาชิกสมาคมพุทธศาสตร์คลองแห จำนวน 80 คน งบประมาณ 19,500 บาท รายละเอียดงบประมาณ
|
0 | 0 |
3. อบรมให้ความรู้ ครั้งที่ 3 |
||
วันที่ 4 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำมอบเกียรติบัตร ถอดบทเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอบรมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 3 กิจกรรมถอดบทเรียน เรื่องการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข พร้อมมอบเกียรติบัตรแก่ผู้สูงอายุ จัดกิจกรรม ถอดบทเรียนการใช้ชีวิตอยู่ในสังคมให้มีความสุขทั้งทางกาย ทางใจ และ มอบเกียรติบัตรแก่
|
0 | 0 |
4. ประชุมวางแผนการดำเนินงาน |
||
วันที่ 30 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมคณะทำงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1 กิจกรรมการประชุมวางแผนการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ ประชุมวางแผนทำงานจำนวน 20 คน ณ วัดคลองแห เพื่อ กำหนดวันดำเนินกิจกรรมและ
|
0 | 0 |
5. อบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 8 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอบรมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 1 ให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพดีวิถีไทยห่างไกลโรค ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคอาหาร รับประทานอาหารให้เป็นยา และการรู้เท่าทันโรค แก่สมาชิกสมาชิก กลุ่มอาสาสายธารทิพย์ สู่ชุมชน จำนวน 80 คน งบประมาณในการดำเนินกิจกรรม จำนวน 17,550 บาท
1.1 การบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับวัย 1.2. การรักษาสุขภาพจิตเชิงบูรณาการ แบ่งกลุ่ม 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 การดูแลสุขภาพแบบพึ่งพาได้ กลุ่มที่ 2 รู้ทันโรคและการป้องกัน
|
0 | 0 |
6. สรุปผลการดำเนินโครงการ |
||
วันที่ 31 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดทำเอกสารรูปเล่ม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่ 4 สรุปผลการดำเนินโครงการ จัดทำเอกสารรูปเล่ม จำนวน 2 เล่มเพื่อส่งกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคลองแห
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และความเข้าใจในการปฏิบัติตัวเรื่องการดูแลบุคคลในครอบครัวได้อย่างเหมาะสม ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู็ ความเข้าใจ ความแตกต่างกันของคนในครอบครัว และปฏิบัติตัวได้อย่างเหมาะสม |
80.00 | 80.00 | 80.00 |
|
2 | เพื่อความเสี่ยงที่จะเกิดความเครียด และมีสุขภาพจิตที่ดี และทำให้สุขภาพกายดีขึ้นตามในวัยทำงาน ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดความเครียดลดน้อยลง |
32.00 | 28.00 | 25.00 |
|
3 | เพื่อความเสี่ยงที่จะเกิดความเครียด และมีสุขภาพจิตที่ดี และทำให้สุขภาพกายดีขึ้นตามในผู้สูงอายุ ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดความเครียดลดน้อยลง |
43.00 | 35.00 | 34.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | 90 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 0 | 10 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 80 | 80 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
(1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และความเข้าใจในการปฏิบัติตัวเรื่องการดูแลบุคคลในครอบครัวได้อย่างเหมาะสม
(2) เพื่อความเสี่ยงที่จะเกิดความเครียด และมีสุขภาพจิตที่ดี และทำให้สุขภาพกายดีขึ้นตามในวัยทำงาน
(3) เพื่อความเสี่ยงที่จะเกิดความเครียด และมีสุขภาพจิตที่ดี และทำให้สุขภาพกายดีขึ้นตามในผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
(1) ประชุมวางแผนการดำเนินงาน
(2) อบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 1
(3) ติดตาม และประเมินการดำเนินโครงการ
(4) อบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
(5) อบรมให้ความรู้ ครั้งที่ 3
(6) สรุปผลการดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดีตาม สังคมมีความสุข จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7255-2-004
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางพรทิพย์ พละสินธุ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......