กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห


“ โครงการสุขภาพที่ดี วิถีไทย ด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน ”

ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุวิมล ฮิ้วเส็ง

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพที่ดี วิถีไทย ด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน

ที่อยู่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7255-2-003 เลขที่ข้อตกลง 05/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพที่ดี วิถีไทย ด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพที่ดี วิถีไทย ด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และเห็นคุณค่าของพืชสมุนไพรไทยและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ (2) เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และตระหนักถึงอันตรายของอาหาร “ฟาสฟู้ด” (3) เพื่อให้ประชาชนรู้จักการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่มีสุขภาพดี แบบพึงพาตนเอง ตามวิถีไทย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

(1) ประชุมวางแผนการดำเนินโครงการ
(2) อบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 1

(3) ติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการ

(4) อบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 2

(5) ประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาทางเทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้าในยุคปัจจุบัน ทำให้วิถีชีวิตของคนไทยมีการเปลี่ยนแปลงส่งผลให้โรคภัยไข้เจ็บต่างๆ มีเพิ่มมากขึ้น ทั้งโรคติดต่อและไม่ติดต่อ เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ขาดความรู้ ใช้ชีวิตด้วยความประมาท ไม่รู้จักวิธีป้องกันโรค อีกทั้งมีการรับประทานอาหารสำเร็จรูปหรือที่เรียกว่าอาหาร “ฟาสฟู้ด” จากการใช้ชีวิตประจำวันเช่นนี้จะส่งผลให้เกิดโรคภัยต่างๆ เช่น ความดัน เบาหวาน มะเร็ง หัวใจกรดไหลย้อน ไขมันในเลือดสูง และอื่นๆ โรคเหล่านี้เป็นโรคที่เราสามารถป้องกันได้ โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การรับประทานอาหารให้ถูกวิธี ออกกำลังกายให้สม่ำเสมอ พักผ่อนให้เพียงพอ ซึ่งคนไทยในอดีตกินพืชเป็นหลักกินผักเป็นยา มีเวลาในการออกกำลังกายคู่กันไปและประเทศไทยนั้นมีพืชผักที่มีสรรพคุณเป็นสมุนไพรสามารถป้องกันและรักษาโรคภัยต่างๆได้ แต่คนไทยปัจจุบันไม่เห็นถึงความสำคัญในเรื่องดังกล่าว ซึ่ง"กลุ่มอาสาสายธารทิพย์ สู่ชุมชน"ได้ลงเยี่ยมผู้ป่วย และได้พบสาเหตุของการเกิดโรคไม่ติดต่อส่วนใหญ่มาจาก พฤติกรรม การกิน จึงจัดทำโครงการ “สุขภาพดี วิถีไทย สมุนไพรพื้นบ้าน”เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตและใส่ใจดูแลสุขภาพแบบพึงพาตนเองซึ่งในปัจจุบัน สมุนไพรพื้นบ้านสามารถตอบโจทย์ในเรื่องสุขภาพได้ดีพอสมควร เช่น ว่านหางจระเข้มีประโยชน์ ในเรื่องของกรดไหลย้อน โรคกระเพาะ กระชาย มีคุณสมบัตในการต้านเชื้อไวรัสป้องกันการเกิดโรคได้มากมาย เป็นต้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และเห็นคุณค่าของพืชสมุนไพรไทยและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
  2. เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และตระหนักถึงอันตรายของอาหาร “ฟาสฟู้ด”
  3. เพื่อให้ประชาชนรู้จักการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่มีสุขภาพดี แบบพึงพาตนเอง ตามวิถีไทย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมวางแผนการดำเนินโครงการ
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 1
  3. ติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการ
  4. อบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
  5. ประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ การดูแลสุขภาพของตัวเองได้อย่างเหมาะสม

2.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้การใช้สมุนไพรได้อย่างเหมาะสม และถูกต้อง

3.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมวางแผนการดำเนินโครงการ

วันที่ 10 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1 กิจกรรมการประชุมวางแผนการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ

        ประชุมวางแผนทำงานจำนวน 20 คน ณ วัดคลองแห  เพื่อ กำหนดวันดำเนินกิจกรรมและ
        มอบหมายงานให้แต่ละฝ่ายในการติดต่อประสานงาน ทั้งด้านสถานที่  วิทยากร ในการดำเนิน
        กิจกรรม งบประมาณ  ทั้งสิ้น  2,600  บาท


- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 20 คนๆละ 30  บาท รวมเป็นเงิน 600 บาท

  • ค่าวัสดุสำนักงาน 2,000  บาท

 

0 0

2. อบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 1

วันที่ 25 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 1  ให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพดีวิถีไทยห่างไกลโรค

    ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคอาหาร รับประทานอาหารให้เป็นยา และการรู้เท่าทันโรค แก่สมาชิกสมาชิก กลุ่มอาสาสายธารทิพย์ สู่ชุมชน จำนวน  80  คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อบรมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 1 ให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพดีวิถีไทยห่างไกลโรค

  ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคอาหาร รับประทานอาหารให้เป็นยา และการรู้เท่าทันโรค แก่สมาชิกสมาชิก กลุ่มอาสาสายธารทิพย์ สู่ชุมชน จำนวน 80 คน งบประมาณในการดำเนินกิจกรรม จำนวน  17,550 บาท

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ

1.1 การบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับวัย

1.2. การรักษาสุขภาพจิตเชิงบูรณาการ แบ่งกลุ่ม 3 กลุ่ม

        กลุ่มที่ 1 การดูแลสุขภาพแบบพึ่งพาได้

        กลุ่มที่ 2 รู้ทันโรคและการป้องกัน

    กลุ่มที่ 3 อาหารกับการป้องกันโรค 2. รายละเอียดงบประมาณ

  • เอกสารประเมินและคัดกรองเบื้องต้น 300 บาท

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 80 คนๆละ 30 บาท จำนวน 2 มื้อ รวมเป็นเงิน 4,800 บาท

  • ค่าเช่าสถานที่และ เครื่องเสียง วันละ 1,500 บาท รวมเป็นเงิน 1,500 บาท

  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 80 คนๆละ 60 บาท เป้นเงิน 4,800 บาท

  • ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยายการบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับวัย จำนวน 1 คน จำนวน 3 ชั่วโมง ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท

  • ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่มที่ 1. เรื่อง การดูแลสุขภาพแบบพึ่งพาได้ จำนวน 1 คนๆละ 2 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท

  • ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่มที่ 2. เรื่องรู้ทันโรคและการป้องกัน จำนวน 1 คนๆละ 2 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท

  • ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่มที่ 3. เรื่องอาหารกับการป้องกันโรค จำนวน 1 คนๆละ 2 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท

  • ค่าไวนิลโครงการ จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 750 บาท

 

0 0

3. ติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการ

วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมสรุปผลการดำเนินกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมที่ 4  การติดตาม และประเมินผลโครงการ


      ดำเนินการจัดกิจกรรม ในการติดตามเยี่ยมกลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรม พร้อมทั้งประเมินความพึง
      พอใจ และสรุปผลการจัดทำโครงการ วิเคราะห์ผลการจัดกิจกรรม ปัญหาและอุปสรรค พร้อมแนวทาง       ในการ วางแผนแก้ไขปัญหา  งบประมาณสำหรับดำเนินกิจกรรม  760  บาท

          รายละเอียดงบประมาณ

  • ค่าถ่ายเอกสารแบบประเมินความพึงพอใจ  จำนวน 80 ชุดๆละ 2 บาท เป็นเงิน 160 บาท

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 20 คนๆละ 30 บาท จำนวน 1 มื้อ รวมเป็นเงิน  600 บาท

 

0 0

4. อบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 2

วันที่ 6 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการ เรือง สมุนไพร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อบรมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2  ให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรในครัวเรือนกับการป้องกันโรค

กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรใกล้ตัว และสรรพคุณในการรักษาและป้องกันโรค  แก่สมาชิกกลุ่มอาสาสายธารทิพย์ สู่ชุมชน  จำนวน  80  คน  งบประมาณ  56,900  บาท

            รายละเอียดงบประมาณ

  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 80 คนๆละ 60 บาท รวมเป็นเงิน 4,800 บาท

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 80 คนๆละ 30 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 4,800 บาท

  • ค่าเช่าสถานที่พร้อมเครื่องเสียง วันละ 1,500 บาท รวมเป็นเงิน 1,500 บาท

  • ค่าวิทยากรบรรยาย จำนวน 1 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท

  • ค่าวิทยากรกลุ่ม จำนวน 2 คน ๆ ละ 2 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท

  • -กระถางต้นไม้ จำนวน 160 กระถางๆละ 40 บาท รวมเป็นเงิน 6,400 บาท

  • -ดินหมัก จำนวน 200 กระสอบๆละ 35 บาท รวมเป็นเงิน 7,000 บาท

  • -ปุ๋ยคอก จำนวน 100 กระสอบๆละ 80 บาท รวมเป็นเงิน 8,000 บาท

ค่าสมุนไพรในการสาธิตการปลูก

  • -ต้นกะเพรา จำนวน 50 ต้นๆละ 40 บาท รวมเป็นเงิน 2,000 บาท

  • -ต้นว่านหางจระเข้ จำนวน 40 ต้นๆละ 40 บาท รวมเป็นเงิน 1,600 บาท

  • -ต้นขิง จำนวน 60 ต้นๆละ 60 บาท รวมเป็นเงิน 3,600 บาท

  • -ต้นโหรพา จำนวน 40 ต้นๆละ 40 บาท รวมเป็นเงิน 1,600 บาท

  • -ต้นจักรนารายณ์ จำนวน 40 ต้นๆละ 60 บาท รวมเป็นเงิน 2,400 บาท

  • -ต้นกระชาย จำนวน 40 ต้นๆละ 60 บาท รวมเป็นเงิน 2,400 บาท

  • -ต้นผักเหลียง จำนวน 66 ต้นๆละ 100 บาท รวมเป็นเงิน 6,600 บาท

 

0 0

5. ประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ

วันที่ 30 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำเอกสารรูปเล่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมที่ 5  สรุปผลการดำเนินโครงการ

                จัดทำเอกสารรูปเล่ม จำนวน 2 เล่มเพื่อส่งกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคลองแห
            และเก็บไว้ที่กลุ่ม  1 เล่ม

    งบประมาณ<br />
  • ค่าจัดทำเอกสารรูปเล่ม  จำนวน 2 เล่มๆละ 500 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และเห็นคุณค่าของพืชสมุนไพรไทยและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนมีความรู้และเห็นคุณค่าของพืชสมุนไพรไทยและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
36.00 46.00 50.50

 

2 เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และตระหนักถึงอันตรายของอาหาร “ฟาสฟู้ด”
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนได้รับความรู้และตระหนักถึงอันตรายของอาหาร “ฟาสฟู้ด”
63.00 80.00 82.30

 

3 เพื่อให้ประชาชนรู้จักการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่มีสุขภาพดี แบบพึงพาตนเอง ตามวิถีไทย
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนรู้จักการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่มีสุขภาพดี แบบพึงพาตนเอง ตามวิถีไทย
62.00 70.00 80.10

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 86
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 0 6
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80 80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และเห็นคุณค่าของพืชสมุนไพรไทยและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ (2) เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และตระหนักถึงอันตรายของอาหาร “ฟาสฟู้ด” (3) เพื่อให้ประชาชนรู้จักการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่มีสุขภาพดี แบบพึงพาตนเอง ตามวิถีไทย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

(1) ประชุมวางแผนการดำเนินโครงการ
(2) อบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 1

(3) ติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการ

(4) อบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 2

(5) ประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสุขภาพที่ดี วิถีไทย ด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7255-2-003

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุวิมล ฮิ้วเส็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด