กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ


“ โครงการป้องกันอาการไหล่ติดด้วยไม้พลองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ”

ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นพ.สุพล เจริญวิกกัย

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันอาการไหล่ติดด้วยไม้พลองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

ที่อยู่ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5284-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันอาการไหล่ติดด้วยไม้พลองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันอาการไหล่ติดด้วยไม้พลองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันอาการไหล่ติดด้วยไม้พลองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5284-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล
อาการปวดไหล่ (frozen shoulder ) ไหล่ติด ยกแขนไม่สุด เป็นปันหาที่พบเจอเยอะในปัจจุบัน และกลุ่มที่เจอได้เยอะคือกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ซึ่งปัจจุบันสถานการณ์ของผู้ป่วยในกลุ่มโรคเรื้อรัง ไม่ว่าจะเป็น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเส้นเลือดสูง มีจำนวนผู้ป่วยที่มากขึ้น นำมาซึ่งการสูญเสียค่ารักษาพยาบาล ค่าเดินทางและเสียเวลาของคนไข้ที่มากขึ้น และหนึ่งในปันหาที่นักกายภาพบำบัดมักจะพบคือ ปันหาการปวดไหล่ หรือข้อไหล่อักเสบ ติดขัด ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ซึ่งเมื่อเป็นแล้วจะใช้เวลาในการรักษาที่ยาวนานกว่ากลุ่มคนไข้ปกติ
อาการปวดไหล่หรือไหล่ติดคนไข้จะมีอาการปวด หรือยกแขนไม่สุด เนื่องจากมีสาเหตุจากการอักเสบของเนื้อเยื่อรอบข้อไหล่อักเสบ หรือ ฉีกขาด การไหลเวียนเลือดไม่ดี การขยับแขนน้อยลง หรือโรคบางชนิด อาการปวดไหล่ ถูกแบ่งออกเป็น 3 ระยะด้วยกัน ระยะแรกคือระยะเจ็บปวด คนไข้มักจะมีอาการปวดมาก และอาจปวดได้แม้ไม้ทำกิจกรรมที่ขยับแขนหรือข้อไหล่ใดใดเลยระยะที่ 2 คือระยะติดแข็ง ในระยะนี้คนไข้มักจะอาการปวดลดลง แต่อาการติดแข็งของข้อไหล่เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน การรักษาในช่วงระยะนี้จะต้องใช้เวลาที่นานมากขึ้นเนื่องจากต้องลดปวดและเพิ่มองศาการเคลื่อนไหวของข้อไหล่ร่วมด้วย และระยะที่ 3 คือระยะที่อาการปวดค่อยๆลดลงและอาการติดแข็งค่อยๆลดลง แต่หากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องอาจมีอาการติดแข็งที่ยาวนานมากขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่ผู้ป่วยมักจะมาพบนักกายภาพบำบัดเมื่อมีอาการปวดและข้อไหล่ติดแข็งไปแล้วหรือในบางรายไม่สามารถขยับแขนได้ นั่นคือระยะที่ 2 นั่นเอง ซึ่งทำให้ระยะเวลาในการรักษาต้องใช้เวลาและเครื่องมือที่เพิ่มมากขึ้น
แผนกกายภาพบำบัดได้เล็งเห็นถึงโอกาสที่จะลด หรือป้องกันการเกิดอาการปวดข้อไหล่หรือข้อไหล่ติดให้ลดลง ด้วยการสอนออกกำลังกายด้วยไม้พลองในผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรัง สืบเนื่องจากปีงบประมาณ 2564 ผู้ป่วยที่เข้ารับบริการในแผนกกายภาพบำบัดนั้น มีอาการข้อไหล่ติดแข็งคิดเป็นร้อยละ 6.5 ( 31 คน )และเป็นในกลุ่มโรคเรื้อรังถึง 75 % ทางแผนกกายภาพบำบัดโรงพยาบาลควนโดนจึงอยากเผยแพร่ความรู้ในการป้องกันอาการปวดไหล่และไหล่ติดในคนไข้กลุ่มนี้ จึงจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพโดยสอนวิธีการออกกำลังกายโดยใช้ไม้พลองที่เพื่อป้องกันการเกิดอาการปวดไหล่ และข้อไหล่ติด ซึ่งจะส่งผลให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังดีขึ้น และลดภาระค่าใช้จ่ายและค่ารักษาพยาบาลที่จะเกิดขึ้น หากคนไข้กลุ่มโรคเรื้อรังมีอาการปวดข้อไหล่หรือข้อไหล่ติดแข็งนั่นเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอาการปวดไหล่และไหล่ติด ข้อที่ 2เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถออกกำลังกายด้วยไม้พลองเพื่อลดอาการปวดและป้องกันอาการไหล่ติดได้ ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ และท่าทางการออกกำลังกายด้วยไม้พลองไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ข้อที่ 4 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเผยแพร่ความรู้ และท่าทางการออกกำลังกายด้วยไม้พลองแก่ผู้อื่นได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการป้องกันอาการไหล่ติดด้วยไม้พลองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาการปวดไหล่และไหล่ติด 2.ผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังสามารถออกกำลังกายด้วยไม้พลองเพื่อลดอาการปวดและป้องกันอาการไหล่ติดได้ 3.ผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังสามารถนำความรู้และท่าทางการออกกำลังกายด้วยไม้พลองไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 4.ผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังสามารถเผยแพร่ความรู้ และท่าทางการออกกำลังกายด้วยไม้พลองแก่ผู้อื่นได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอาการปวดไหล่และไหล่ติด ข้อที่ 2เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถออกกำลังกายด้วยไม้พลองเพื่อลดอาการปวดและป้องกันอาการไหล่ติดได้ ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ และท่าทางการออกกำลังกายด้วยไม้พลองไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ข้อที่ 4 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเผยแพร่ความรู้ และท่าทางการออกกำลังกายด้วยไม้พลองแก่ผู้อื่นได้
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับอาการปวดไหล่และไหล่ติด 2.ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงสามารถออกกำลังกายด้วยไม้พลองเพื่อลดอาการปวดและป้องกันอาการไหล่ติดได้ 3.ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ และท่าทางการออกกำลังกายด้วยไม้พลองไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 4. ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเผยแพร่ความรู้ และท่าทางการออกกำลังกายด้วยไม้พลองแก่ผู้อื่น
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอาการปวดไหล่และไหล่ติด ข้อที่ 2เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถออกกำลังกายด้วยไม้พลองเพื่อลดอาการปวดและป้องกันอาการไหล่ติดได้ ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ และท่าทางการออกกำลังกายด้วยไม้พลองไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ข้อที่ 4 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเผยแพร่ความรู้ และท่าทางการออกกำลังกายด้วยไม้พลองแก่ผู้อื่นได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการป้องกันอาการไหล่ติดด้วยไม้พลองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันอาการไหล่ติดด้วยไม้พลองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5284-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นพ.สุพล เจริญวิกกัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด