กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน ปีงบประมาณ 2566 ”



หัวหน้าโครงการ
นายลุฏฟี เหมมัน

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L8008-01-14 เลขที่ข้อตกลง 13/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L8008-01-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ได้ไห้ความสำคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคมในการพัฒนาประเทศด้านต่างๆโดยเฉพาะด้านการเสริมสร้างสุขภาวะให้คนไทยมีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจสามารถดูแลตนเองได้โดยมุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนาทุนสังคมและภูมิปัญญาชุมชนตลอดจนการมีส่วนร่วมของพื้นที่ ในระดับท้องถิ่น กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดเกณฑ์ชี้วัดความสำเร็จของการสร้างสุขภาวะให้คนไทยแข็งแรงส่วนหนึ่ง โดยได้กำหนดตัวชี้วัดของโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคอัมพฤกษ์อัมพาต โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ โดยกำหนดให้มีกิจกรรมการคัดกรอง ค้นหาผู้ป่วยในชุมชนและให้มีการลด ละ กิจกรรมเสี่ยง ได้แก่การไม่สูบบุหรี่ ไม่ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ลดอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็ม และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานผักผลไม้เพิ่มขึ้น มีการออกกำลังกายเป็นประจำ ลดภาวะน้ำหนักเกิน เป็นการ “ปรับก่อนป่วย” เพราะโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีปัจจัยเสี่ยงร่วมกับสภาพแวดล้อมและวิถีชีวิตการส่งเสริมสุขภาพจึงเน้นให้“ประชาชนสุขภาพดี เริ่มต้นที่สร้างนำซ่อม” โดยมีอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ผู้เป็นพลังชุมชนที่สำคัญในการเป็นผู้นำ เป็นต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (Change Agent) โดยมีบทบาทที่สำคัญในการถ่ายทอดความรู้ ทักษะด้านสุขภาพให้แก่คนในชุมชน โดยมีเป้าหมายในการเป็น “คู่หูสุขภาพ (Buddy Healthy)” ร่วมรู้สถานะสุขภาพ ร่วมปรับพฤติกรรม เพื่อค้นหาพฤติกรรมเสี่ยง และค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น ปัญหากลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ และถือว่าเป็นภัยเงียบ เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฏอาการ โดยประชาชนที่เสี่ยง หรือป่วย ถ้าไม่ได้รับการวินิจฉัยและการรักษาที่เหมาะสมก็อาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนอาจเสียชีวิตเฉียบพลันหรืออาจเกิดความพิการที่ไม่อาจแก้ไขได้ เช่น โรคไตวาย ตาบอด โรคหลอดเลือดสมองตีบและโรคหลอดเลือดสมองแตกได้ จากผลการดำเนินงานคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบของศูนย์ชุมสุขภาพชุมชนพิมาน ทั้งหมด 10 ชุมชน ในปีงบประมาณ 2566 จากกลุ่มเป้าหมาย อายุ 35 ปี-60 ปี จำนวนทั้งหมด 3,995คน ที่ได้รับการคัดกรองจำนวน 850 คน พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 66 คนคิดเป็นร้อยละ 7.76 กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานจำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 1.64และผลงานการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงจากกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการคัดกรอง จำนวน 850 คน พบกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ5.41กลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 1.76 และพบผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 5 คนผู้ป่วยความดันโลหิตสูง รายใหม่ จำนวน 6 คนเป็นผู้ป่วยรายใหม่ที่เกิดจากความเสี่ยงสูง ถ้ากลุ่มนี้ ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องและเหมาะสมอย่างต่อเนื่อง จะสามารถป้องกันและหลีกเลี่ยงโรคดังกล่าวได้และการดูแลสุขภาพในกลุ่มป่วย ทางศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน มีผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่เข้ารับการรักษาที่ศูนย์สุขภาพชุมชนพิมานจำนวน616 คนโรคเบาหวาน 249 คน โรคความดันโลหิตสูงจำนวน 367 คน ซึ่งเป็นกลุ่มป่วยที่ต้องได้รับการดูแล และให้คำแนะนำอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกแทรกซ้อน และเกิดผู้ป่วยรายใหม่ในครอบครัวของผู้ป่วยเพิ่มขึ้น ทางศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน ได้ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยของโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง จึงจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ป้องกันการเพิ่มของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในชุมชนเพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ สามารถดูแลตนเอง และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดการเกิดโรคเรื้อรังและภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชากรที่มีความเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมด้วยหลัก 3อ2ส
  2. เพื่อค้นผู้ป่วยรายใหม่ให้ได้รับการส่งต่อและรักษาเข้ามาอย่างเป็นระบบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง
  2. กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงในชุมชน ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
  3. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานเเละโรคความดันโลหิตสูง
  4. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานเเละโรคความดันโลหิตสูง
  5. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานเเละโรคความดันโลหิตสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูเเลสุขภาพตนเอง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้ถูกต้องมากขึ้น 2.ผู้ป่วยรายใหม่ลดลงจากปีก่อน
    3.การเกิดภาวะเเทรกซ้อน หรือภัยเงียบ ในกลุ่มป่วยลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานเเละโรคความดันโลหิตสูง

วันที่ 11 สิงหาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานเเละโรคความดันโลหิตสูง โดยมีการบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไม่เรื้อรัง เเละบรรยายให้ความรู้หัวข้อ อาหารเพื่อการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง กิจกรรมเเบ่งฐานให้ความรู้ มี 4 ฐาน ฐานให้ความรู้เรื่องอาหารสาธิตเพื่อสุขภาพเเละโมเดลอาหาร  ฐานที่ 2 การออกกำลังกาย การยืดเหยียดร่างกาย ฐานที่ 3 การทดสอบระดับความหวาน  เเละฐานที่ 4 การผ่อนคลายความเครียดเเละสุขภาพจิต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

123

 

0 0

2. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานเเละโรคความดันโลหิตสูง

วันที่ 11 สิงหาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานเเละโรคความดันโลหิตสูง โดยมีการบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไม่เรื้อรัง เเละบรรยายให้ความรู้หัวข้อ อาหารเพื่อการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง กิจกรรมเเบ่งฐานให้ความรู้ มี 4 ฐาน ฐานให้ความรู้เรื่องอาหารสาธิตเพื่อสุขภาพเเละโมเดลอาหาร  ฐานที่ 2 การออกกำลังกาย การยืดเหยียดร่างกาย ฐานที่ 3 การทดสอบระดับความหวาน  เเละฐานที่ 4 การผ่อนคลายความเครียดเเละสุขภาพจิต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

123

 

0 0

3. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานเเละโรคความดันโลหิตสูง

วันที่ 11 สิงหาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานเเละโรคความดันโลหิตสูง โดยมีการบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไม่เรื้อรัง เเละบรรยายให้ความรู้หัวข้อ อาหารเพื่อการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง กิจกรรมเเบ่งฐานให้ความรู้ มี 4 ฐาน ฐานให้ความรู้เรื่องอาหารสาธิตเพื่อสุขภาพเเละโมเดลอาหาร  ฐานที่ 2 การออกกำลังกาย การยืดเหยียดร่างกาย ฐานที่ 3 การทดสอบระดับความหวาน  เเละฐานที่ 4 การผ่อนคลายความเครียดเเละสุขภาพจิต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แบบติดตามผลการดำเนินโครงการ ๑.ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน ประจำปีงบประมาณ  ๒๕๖๖
๒.ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 11 สิงหาคม ๒๕๖๖ ณ ห้องประชุมประกายเพชร ตึกอุบัติเหตุฉุกเฉิน โรงพยาบาลสตูล ๓.หน่วยงานรับผิดชอบ  ศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน โรงพยาบาลสตูล ๔.ผลสัมฤทธิ์โครงการ
- กิจกรรมที่ ๑  กิจกรรมอบรมให้ความรู้โดยจัดกิจกรรมการส่งเสริมของกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชากรที่มีความเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยหลัก 3 อ 2 ส และค้นผู้ป่วยรายใหม่ให้ได้รับการส่งต่อและรักษาเข้ามาอย่างเป็นระบบ

ผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนด ผลสำเร็จของตัวชี้วัด การประเมินผล บรรลุผล ๑.เพื่อให้ประกรที่มีความเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมด้วยหลัก 3 อ 2 ส 2. เพื่อค้นผู้ป่วยรายใหม่ให้ได้รับการส่งต่อและรักาเข้ามาอย่างเป็นระบบ
1.ร้อยละ ๘๐ กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรคจากเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2.ร้อยละ 60 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีค่าระดับน้ำตาลและค่าความดันโลหิตสูงที่ลดลง 1. ร้อยละ 100 ผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างเป็นระบบ  ผู้เข้าอบรมฯ ตามกิจกรรมในโครงการฯ จำนวน 60คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐

๕.สรุปค่าใช้จ่ายโครงการตามที่จ่ายจริง ลำดับที่ รายการ ค่าใช้จ่ายที่ได้รับการอนุมัติ ค่าใช้จ่ายจริง หมายเหตุ ๑. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าอบรม จำนวน 60 คน ๆ ละ ๑ มื้อ ๆ ละ ๗๐ บาท 4,200 4,200
๒. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าอบรม จำนวน 60 คน ๆ ละ ๒ มื้อ ๆ ละ ๒๕ บาท 3,000 3,000

  1. ค่าสมนาคุณวิทยากร (ประจำฐาน)จำนวน 4 คน 2 ซม x300บาท        2,400 2,400
  2. ค่าสมนาคุณวิทยากรจำนวน 1 คน 1 ชม X 300 บาท 300 300
  3. ค่าสมนาคุณวิทยากรจำนวน  1 คน 2ชม. X 300 บาท  600 600 รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 10,500 10,500
    งบประมาณ งบบำรุงโรงพยาบาลสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ งบประมาณที่ได้รับอนุมัติกิจกรรมที่ 1 จำนวน 16,600 บาท  เบิกจ่ายจริงจำนวน  13,000  บาท  คิดเป็นร้อยละ  78.31

๖.ผลการดำเนินกิจกรรมตามแผน/โครงการ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ ผลการดำเนินงาน หมายเหตุ ตัวชี้วัดที่ ๑ 1.ร้อยละ ๘๐ กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรคจากเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2.ร้อยละ 60 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีค่าระดับน้ำตาลและค่าความดันโลหิตสูงที่ลดลง จัดอบรมฯ ในวันที่ 11 สิงหาคม ๒๕๖๖ - กลุ่มเป้าหมาย  คือ  กลุ่มเสี่ยงในชุมชนที่มีความเสี่ยงของโรคเรื้อรัง จากการคัดกรองโรคไม่ติดต่อ ประจำปี 2566 -กลุ่มเสี่ยงที่เข้ามาร่วมการอบรม จำนวน 60 คน มีความรู้ความเข้าใจ โดยมีความรู้ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ 88.33 และมีความรู้หลังจากการอบรมคิดเป็นร้อยละ 95
  ๒.เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องในการร่วมดำเนินกิจกรรมสามารถสร้างความสัมพันธภาพกับผู้ป่วยและวางแผนการรักษา และป้องกันส่งเสริมสุขภาพได้อย่างใกล้ชิด

๗.ปัญหา/อุปสรรค
๑. สถานที่จัดประชุมอาจมีความคับแคบของสถานที่ เพราะในกิจกรรมโครงการมีการแบ่งฐานการให้ความรู้และสาธิตเชิงปฏิบัติการ อาจทำให้ไม่ค่อยเอื้ออำนวยต่อผู้เข้าร่วมประชุม

๘.แนวทางแก้ไข และข้อเสนอแนะในการดำเนินโครงการ ๑. ควรมีการสำรวจสถานที่จัดประชุมโครงการ เพื่อมีการวางแผนกิจกรรมเชิงปฏิบัติการในแต่ละฐานให้มีความเหมาะสมและสะดวกต่อผู้เข้าร่วมประชุม 2. ผู้เข้าร่วมประชุมมีความคิดเห็นว่า อยากได้การประชุมแบบสาธิตจริง เช่น การจัดทำอาหารเพื่อการปรับเปลี่ยนที่เหมาะสม และการคิดค้นหานวัตกรรมเมนูอาหารเพื่อการปรับเปลี่ยนที่ถูกต้องตามบริบทของชุมชนเมือง 3. อยากให้มีต้นแบบของผู้นำการปรับเปลี่ยนเข้ามาถ่ายทอดประสบการณ์ พูดคุยแลกเปลี่ยนเพื่อสร้างเสริมประสบการณ์นอกห้องเรียน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชากรที่มีความเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมด้วยหลัก 3อ2ส
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรคจากเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2.ร้อยละ 60 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีค่าระดับน้ำตาลเเละค่าความดันโลหิตสูงที่ลดลง ( โดยอ้างอิงจากเกณฑ์ ค่าระดับน้ำตาลในเลือดน้อยกว่า ระดับ70- 100mg/dl เเละค่าความดัน ในระดับ น้อยกว่า140/90จากองค์การอนามัยโลก WHO
0.00 0.00

 

2 เพื่อค้นผู้ป่วยรายใหม่ให้ได้รับการส่งต่อและรักษาเข้ามาอย่างเป็นระบบ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างเป็นระบบ
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชากรที่มีความเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมด้วยหลัก 3อ2ส (2) เพื่อค้นผู้ป่วยรายใหม่ให้ได้รับการส่งต่อและรักษาเข้ามาอย่างเป็นระบบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (2) กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงในชุมชน ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (3) โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานเเละโรคความดันโลหิตสูง (4) โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานเเละโรคความดันโลหิตสูง (5) โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานเเละโรคความดันโลหิตสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L8008-01-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายลุฏฟี เหมมัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด