กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ


“ โครงการคัดกรองภาวะโลหิตจางเพื่อลดภาวะซีดระยะก่อนตั้งครรภ์ในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ”

ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นพ.สุพล เจริญวิกกัย

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองภาวะโลหิตจางเพื่อลดภาวะซีดระยะก่อนตั้งครรภ์ในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

ที่อยู่ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5284-01-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองภาวะโลหิตจางเพื่อลดภาวะซีดระยะก่อนตั้งครรภ์ในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองภาวะโลหิตจางเพื่อลดภาวะซีดระยะก่อนตั้งครรภ์ในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองภาวะโลหิตจางเพื่อลดภาวะซีดระยะก่อนตั้งครรภ์ในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5284-01-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องกับการได้รับสารอาหาร ไม่เพียงพอที่พบบ่อยที่สุด ซึ่งผลของการขาดธาตุเหล็ก จะทำให้ประสิทธิภาพการเจริญเติบโตของร่างกายและสมองลดลง ส่งผลต่อสุขภาพสติปัญญา และความสามารถในการเรียนรู้และประสิทธิภาพในการทำงานสตรีวัยเจริญพันธุ์เป็นประชากรกลุ่มหนึ่งที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะโลหิตจาง เนื่องจากมีการสูญเสียธาตุเหล็กไปกับประจำเดือน ประมาณ 12.5-15 มิลลิกรัมต่อเดือนหรือเฉลี่ยวันละ 0.4-0.5มิลลิกรัม ซึ่งปกติร่างกายจะสูญเสียธาตุเหล็กจากการขับถ่ายวันละ 0.5-1 มิลลิกรัม และยังมีการสูญเสียธาตุเหล็กออกไปทางปัสสาวะ ผิวหนัง บาดแผล และการบริจาคโลหิต หากหญิงวัยเจริญพันธ์ ขาดธาตุเหล็กในระยะก่อนตั้งครรภ์ จะส่งผลกระทบในขณะตั้งครรภ์ ต่อการเจริญเติบโตทั้งทางร่างกายและสมองของทารกในครรภ์ ส่งผลให้มีพัฒนาการ ด้านร่างกายล่าช้า และสติปัญญาต่ำกว่าปกติดังนั้นหญิงตั้งครรภ์จึงควรได้รับธาตุเหล็กอย่างเพียงพอและควรมีการป้องกันและแก้ไขปัญหาการขาดธาตุเหล็กในวงกว้างให้ครอบคลุมทั้งหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่พร้อมมีบุตร
จากสถิติของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ปี 2564 พบหญิงตั้งครรภ์ทั่วประเทศมีภาวะโลหิตจางร้อยละ ๑๖.๔ จากการสำรวจสถานการณ์ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ในจังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2563-2565มีหญิงตั้งครรภ์ทั้งหมดจำนวน ๓,๑๘๕, ๒,๘๘๑ และ ๒,๖๐๒ คน พบหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด จำนวน ๔๒๘ , ๔๑๖ และ ๒๐๗ คนคิดเป็นร้อยละ ๑๓.๔๔ , ๑๔.๔๔ และ ๑๐.๓๘และจากการสำรวจสถานการณ์ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ในอำเภอควนโดน จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ มีหญิงตั้งครรภ์ทั้งหมดจำนวน ๒๕๖ , ๒๓๗ และ ๒๐๖ คนพบหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด จำนวน ๒๓ , ๒๒ และ ๑๐ คนคิดเป็นร้อยละ ๘.๙๘ , ๙.๒๘ และ ๔.๘๕ จากการดำเนินงานของทางโรงพยาบาลควนโดน ปี ๒๕๖๓-๒๕๖๕ พบว่าหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง จากการเจาะเลือด ในครั้งแรกที่มาฝากครรภ์ คิดเป็นร้อยละ ๙.๕๒, ๙.๒๑ และ ๑๑.๙๐ ตามลำดับ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดคือร้อยละ ๑๐ ของหญิงตั้งครรภ์ที่มารับการฝากครรภ์ทั้งหมดจากสถิติดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่าภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในโรงพยาบาลควนโดน ที่จะต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วนเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่อมารดาและทารก จึงได้จัดทำ โครงการคัดกรองภาวะโลหิตจางเพื่อลดภาวะซีดระยะก่อนตั้งครรภ์ในหญิงวัยเจริญพันธุ์ซึ่งเป็นกลุ่มวัยที่มีความสำคัญและส่งผลต่อทารกและเด็กซึ่งเป็นเยาวชนของชาติอันจะก่อให้เกิดความยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดอัตราภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ 2. เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการคัดกรองภาวะโลหิตจางเพื่อลดภาวะซีดระยะก่อนตั้งครรภ์ในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑. คัดกรองแยกกลุ่มปกติ/กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์
๒. แก้ปัญหาภาวะซีดตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ เพื่อลดภาวะซีดเมื่อตั้งครรภ์
๓. ทำให้ผู้ที่มารับบริการได้รู้ผลเลือดของตนเอง และสามารถนำไปประเมินอาการเบื้องต้นของตนเองได้อย่างเหมาะสม และสามารถเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางได้ด้วยตนเอง ๔. ผู้ที่เข้ารับบริการตระหนักและเห็นคุณค่าความสำคัญของการเลือกรับประทานอาหารเสริมธาตุเหล็ก เพิ่มมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อลดอัตราภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ 2. เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์
ตัวชี้วัด : หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เข้าร่วมโครงการเมื่อเจาะเลือดครั้งแรกที่มาฝากครรภ์มีภาวะซีดน้อยกว่าร้อยละ ๑๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดอัตราภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์  2. เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการคัดกรองภาวะโลหิตจางเพื่อลดภาวะซีดระยะก่อนตั้งครรภ์ในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองภาวะโลหิตจางเพื่อลดภาวะซีดระยะก่อนตั้งครรภ์ในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5284-01-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นพ.สุพล เจริญวิกกัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด