กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการวัยเรียน วัยใส รักอย่างไรป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ปี 2566 ”



หัวหน้าโครงการ
นางสปีเนาะ กะโด

ชื่อโครงการ โครงการวัยเรียน วัยใส รักอย่างไรป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ปี 2566

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 8/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัยเรียน วัยใส รักอย่างไรป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ปี 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยเรียน วัยใส รักอย่างไรป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัยเรียน วัยใส รักอย่างไรป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2565 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,875.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นปัญหาที่สําคัญของทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย หากวัยรุ่นเกิดการตั้งครรภ์ก่อนวัยที่ เหมาะสมหรือก่อนที่จะมีความพร้อมในการเป็นมารดาจะส่งผลกระทบอย่างมากต่อตัววัยรุ่นเอง ครอบครัว สังคม รวมทั้งประเทศชาติ การดําเนินการด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหา  การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นของประเทศไทยยังไม่ ประสบความสําเร็จเท่าที่ควร ดังจะเห็นได้จากอัตราคลอดในวัยรุ่น ซึ่งเป็นหนึ่งในตัวชี้วัดของ Millennium Development Goals ของประเทศไทยยังคงมีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วง ๑๐ ปีที่ผ่านมา นับเป็นปัญหาที่สำคัญในสังคมปัจุบันที่ต้องได้รับการแก้ไข
“การตั้งครรภ์” หากเกิดขึ้นกับหญิงที่มีความพร้อม ไม่ว่าจะเป็นทางด้านสรีระร่างกาย วัย ภาวะด้านคุณวุฒิ และวัยวุฒิ ก็คงเป็นเรื่องที่น่ายินดี และสร้างความสุขให้กับครอบครัวของหญิงนั้นๆ แต่ถ้าหาก เกิดขึ้นกับผู้ที่ยังเป็น “เด็กหญิง” ซึ่งมีอายุระหว่าง ๙-๑๕ ปี ก็มักจะก่อให้เกิดปัญหาตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้  ทั้งต่อเด็กเอง และ ครอบครัว มีข้อมูลจากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พบว่าสภาวะ    การตั้งครรภ์และ คลอดบุตรก่อนวัยอันควรของหญิงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเกือบทุกปี การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นหรือท้องวัยทีน คือ การตั้งครรภ์ เมื่ออายุ ๑๙ ปี หรืออ่อนกว่านี้ พบร้อยละ ๑๐-๓๐ ของการตั้งครรภ์ทั้งหมด นับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สําคัญของ ทุกประเทศทั่วโลกใน ๑๐ ปี มานี้เอง การตั้งครรภ์ในวัยทีนในประเทศไทยมีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น นอกจากนั้นอายุ ของคุณแม่วัยทีนนับวันยิ่งน้อยลง ต่ําสุดพบเพียง ๑๒ ปี เท่านั้น ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งครรภ์ในวัยทีน ได้แก่ ฐานะยากจน การศึกษาน้อย ติดยาเสพติด ปัญหาความสัมพันธ์ในครอบครัว ซึ่งเป็นปัจจัย ที่แก้ไขได้ยาก แต่มีปัจจัย หนึ่งซึ่งน่าจะแก้ไขได้ และเป็นปัจจัยที่ทําให้การตั้งครรภ์ในวัยทีนในประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว คือ ค่านิยมการ มีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นนั่นเอง วัยรุ่น” หมายถึง กลุ่มบุคคลที่ทีอายุระหว่าง ๙-๑๙ ปี ซึ่งเป็นช่วงที่มีการเจริญเติบโต อย่างรวดเร็วมีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสติปัญญา โดยมีลักษณะสําคัญ ๓ ประการ คือ มีการพัฒนาทางร่างกาย โดยเฉพาะมีการเปลี่ยนแปลงของอวัยวะเพศ จนมีวุฒิภาวะทางเพศอย่างสมบูรณ์มีพัฒนาการด้านจิตใจ ซึ่งเป็นระยะที่เปลี่ยนแปลงจากเด็กเป็นผู้ใหญ่ และมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม โดยเปลี่ยนจากการพึ่งพาครอบครัวมาเป็นผู้ที่สามารถประกอบอาชีพ และมีรายได้ของตนเอง หรือมีสิทธิ  ทางกฎหมาย    ในเรื่องต่างๆ เช่น การห้ามเด็กที่มีอายุต่ํากว่า ๑๕ ปีบริบูรณ์ทํางาน ในด้านพัฒนาการทางอารมณ์ และจิตใจพบว่า วัยรุ่นอยากรู้ อยากเห็น และอยากทดลอง ต้องการการยอมรับจากเพื่อน ดังนั้น วัยรุ่นจึงเป็นวัย      ที่อาจถูกชักจูง ได้ง่าย ขาดความนับถือตัวเอง รวมถึงขาดทักษะในการดําเนินชีวิต ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยงในด้านต่างๆ เช่น ขับ รถประมาท ยกพวกตีกัน ดื่มสุรา และใช้สารเสพติด มีเพศสัมพันธ์โดยขาดการป้องกัน ส่งผล ให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่ พร้อมในวัยรุ่น ทั้งนี้พฤติกรรมเสี่ยงดังกล่าว เป็นสาเหตุหนึ่งของการเสียชีวิตในวัยรุ่น โดยเฉพาะเพศหญิง ได้แก่ การทําแท้งเถื่อน การคลอดบุตรขณะอายุน้อย การติดเชื้อ HIV ฯลฯ ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้เป็นพฤติกรรมที่สามารถ ป้องกันหรือหลีกเลี่ยงได้ หากได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐที่ทั่วถึง มีการรณรงค์ให้ความรู้ พิษภัย และโทษของการ ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ในรูปแบบต่างๆ อย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไข ปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการให้ความรู้กับเยาวชน เพื่อใว้เยาวชนได้เรียนรู้เรื่องเพศศึกษา และการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โดยให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีส่วนร่วมในการคิด เปิดโอกาสให้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ฝึกให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้คิดตระหนักถึงปัญหาทางเพศ การแก้ไขและการป้องกันปัญหาด้วยตนเอง จึงได้จัดทำโครงการวัยเรียน วัยใส รักอย่างไรป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ปี 2566

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความตระหนัก และองค์ความรู้และการป้องกันตนเองจากการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
  2. เพื่อให้มีเครือข่ายเยาวชนระวังภัย เป็นหูเป็นตาในการป้องกันตนเองและป้องกันเพื่อน หรือคนใกล้ชิด อันเป็นการเฝ้าระวังภัยในรูปแบบต่างๆ ร่วมกัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และรู้จักป้องกันตนเองไม่ให้เกิดตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรได้ 2.มีกลุ่มเครือข่ายเพื่อนช่วยเพื่อน 3.กลุ่มเป้าหมายสามารถช่วยให้คำแนะนำและวิธีป้อนกันแก่เพื่อนๆในกลุ่มเสี่ยงที่จะตั้งครรภ์ก่อนวัย อันควรได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้

วันที่ 9 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นเตรียมการ 1.ประชุมอสม.และกำหนดกลุ่มเป้าหมายในเขตรับผิดชอบ 2.วิเคราะห์ปัญหาที่พบและจัดทำแผนการดำเนินงาน 3.เขียนแผน/โครงการ เพื่อขออนุมัติ 4.ประชาสัมพันธ์โครงการภายในชุมชนและในโรงเรียน 5.ดำเนินงานตามโครงการ ขั้นดำเนินการ 1.จัดอบรมให้ความรู้เรื่องความรู้และการป้องกันตนเองจากการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร   - ให้ความรู้เรื่องความรู้และการป้องกันตนเองจากการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร   - จัดนิทรรศการให้ความรู้แก่เยาวชนในชุมชนและในโรงเรียน 2.ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ผ่านสื่อต่างๆ เช่น หอกระจายข่าว ป้ายประชาสัมพันธ์ 3.จัดตั้งกลุ่มและเครือข่ายเพื่อช่วยเพื่อนในชุมชน 4.ติดตามและสามารถช่วยให้คำแนะนำและวิธีป้องกันแก่เพื่อนๆในกลุ่มเสี่ยงที่จะตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรได้ 5.ประเมินผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และรู้จักป้องกันตนเองไม่ให้เกิดตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรได้ 2.มีกลุ่มเครือข่ายเพื่อนช่วยเพื่อน 3.กลุ่มเป้าหมายสามารถช่วยให้คำแนะนำและวิธีป้องกันแก่เพื่อนๆในกลุ่มเสี่ยงที่จะตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความตระหนัก และองค์ความรู้และการป้องกันตนเองจากการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้มีเครือข่ายเยาวชนระวังภัย เป็นหูเป็นตาในการป้องกันตนเองและป้องกันเพื่อน หรือคนใกล้ชิด อันเป็นการเฝ้าระวังภัยในรูปแบบต่างๆ ร่วมกัน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความตระหนัก และองค์ความรู้และการป้องกันตนเองจากการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร (2) เพื่อให้มีเครือข่ายเยาวชนระวังภัย เป็นหูเป็นตาในการป้องกันตนเองและป้องกันเพื่อน หรือคนใกล้ชิด อันเป็นการเฝ้าระวังภัยในรูปแบบต่างๆ ร่วมกัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการวัยเรียน วัยใส รักอย่างไรป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ปี 2566 จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสปีเนาะ กะโด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด